ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนในเครือบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ตามแนวคิดความฉลาดทางอารมณ์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลำดับความต้องการจําเป็นในการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนในเครือบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ตามแนวคิดความฉลาดทางอารมณ์ ใช้วิธีการวิจัยเชิงบรรยาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความต้องการจําเป็น (PNIModified) โดยมีผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหาร และครูโรงเรียนในเครือบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) จำนวน 251 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนในเครือบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ตามแนวคิดความฉลาดทางอารมณ์อยู่ใน ระดับปานกลาง โดยการจัดการเรียนการสอนมีสภาพในการปฏิบัติในปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และการวัดและประเมินผล มีสภาพในปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด สภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนในเครือบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ตามแนวคิดความฉลาดทางอารมณ์ อยู่ในระดับมากที่สุด โดยการวัดและประเมินผลมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และการจัดการเรียนการสอนมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 2) ค่าดัชนีความต้องการจําเป็นในการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนในเครือบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ตามแนวคิดความฉลาดทางอารมณ์โดยภาพรวม คือ 0.358 (PNIModified = 0.358) เมื่อพิจารณาตามขอบข่ายการบริหารวิชาการ พบว่า การวัดและประเมินผล มีค่าความต้องการจําเป็นในการพัฒนาสูงสุด และการจัดการเรียนการสอนมีค่าความต้องการจําเป็นในการพัฒนาต่ำสุด
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้นเพียงผู้เดียว และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์และจะแจ้งให้เจ้าของบทความทราบหลังจากผู้ประเมินบทความตรวจอ่านบทความแล้ว
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2566). นโยบายและจุดเน้นการจัดการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2567. แหล่งที่มา https://www.moe.go.th/360policy-and-focus-moe-fiscal-year-2024/ สืบค้นเมื่อ 23 ต.ค. 2566.
กรมสุขภาพจิต. (2551). อีคิว: ความฉลาดทางอารมณ์. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
ชัชฎาภรณ์ ภูตันวงษ์. (2559). การดำเนินการจัดบริการแนะแนวในโรงเรียนตามทัศนะคติของ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต 5. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
ธัญมน นวลโฉม. (2563). แนวทางการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานครตามแนวคิดคุณลักษณะการคิดเชิงบวกของผู้เรียน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธีรยุทธ มาณะจักร์. (2564). แนวทางพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ ตามแนวคิดผู้ออกแบบชีวิตที่มีคุณค่า. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บรรจง เจนจัดการ. (2561). ปัจจัยทํานายภาวะซึมเศร้าของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตเทศบาลเมืองจังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา
ภูมิวรพล กุณทา. (2563). ความฉลาดทางอารมณ์ที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของนักเรียนเดินเรือพาณิชย์ ศูนย์ฝึกพาณิชย์นาวี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2555). การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยทักษิณ.
รุจิรา รักวงษ์. (2564). แนวทางการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดสมุทรปราการ ตามแนวคิดคุณลักษณะผู้ประกอบการสังคม. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี). (2565). รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2565. กรุงเทพมหานคร: โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี).
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 2. (2565). รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2565. กรุงเทพมหานคร: โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 2.
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา. (2565). รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2565. กรุงเทพมหานคร: โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา.
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 4. (2565). รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2565. กรุงเทพมหานคร: โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 4.
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นนทบุรี. (2565). รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2565. นนทบุรี: โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นนทบุรี.
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ. (2565). รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2565. สมุทรปราการ: โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ.
สุกัญญา แช่มช้อย. (2565). การบริหารวิชาการที่ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคพลิกผัน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). การปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580 (ฉบับย่อ). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสาม พ.ศ. 2566 – 2570. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ.
Goleman, D. (2011). Leadership: The Power of Emotional Intelligence. More Than Sound.
John W. & Best. (1981). Research in Education. 4 th ed. New Jersey: Prentice – Hall Inc.
Krejcie, R.V. & Morgan, D.W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Education and Psychological Measurement. 30(3). 607-610.
Procter Lawson. (1983). Estimating photosyntheticaiiy active adiation from measured solar irrdiance. New York: Macmullan Book Co.