RELATIONSHIP BETWEEN COMPETENCY OF EDUCATIONAL INSTITUTION ADMINISTRATORS AND ACADEMIC ADMINISTRATION OF SCHOOLS UNDER LAKSI DISTRICT OFFICE, BANGKOK
Main Article Content
Abstract
This research aims to: 1) study the competency of school administrators under the jurisdiction of the Office of the Fourth Educational Area, Bangkok, 2) examine the academic management of schools under the jurisdiction of the Office of the Fourth Educational Area, Bangkok, and 3) investigate the relationship between the competency of school administrators and the academic management of schools under the jurisdiction of the Office of the Fourth Educational Area, Bangkok. The research utilized a descriptive research method with a sample group of 144 teachers in the academic year 2023. The research tools included questionnaires for data collection and basic statistical analysis methods such as frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson correlation coefficient. The research findings indicate that school administrators of schools under the jurisdiction of the Office of the Fourth Educational Area, Bangkok, have the highest overall competency level. Similarly, the academic management of schools under this jurisdiction is also at the highest level. Furthermore, there is a significantly high positive correlation between the competency of school administrators and academic management in schools under the Office of the Fourth Educational Area, Bangkok.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้นเพียงผู้เดียว และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์และจะแจ้งให้เจ้าของบทความทราบหลังจากผู้ประเมินบทความตรวจอ่านบทความแล้ว
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
References
กัญญาภิญญ์ สีรัตน์เจริญ และสุนันท์ ช่วยชู. (2566). แนวทางการพัฒนาการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทย. วารสารมณีเชษฐารามวัดจอมมณี. 6(1). 32-49.
ขวัญชนก แซ่โค้ว. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารกับการบริหารงานวิชาการของกลุ่มโรงเรียนเมืองฉะเชิงเทรา 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทราเขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.
จีรพรณัฎฐ์ ภุมรินทร์ และสายสุดา เตียเจริญ. (2562). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากบการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. 11(1). 215-216
ปรียานุช ธะนะฉัน, นิพนธ์ วรรณเวช และสาโรจน์ เผ่าวงศากุล. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย. 5(1). 1-12.
พิชญ์สินี โภชนุกูล. (2564). การศึกษาสมรรถนะผู้บริหารในศตวรรษที่ 21 ตามทัศนะของครูในโรงเรียนที่ได้รับรางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (0BECQA) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 15(3). 109-130.
สร้อยสุดา ศุภมาตย์ และทับทิมทอง กอบัวแก้ว. (2566). การบริหารการศึกษาในศตวรรษที่ 21. แหล่งที่มา http://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/miniconference/article/view/4305 สืบค้นเมื่อ 5 ม.ค. 2567.
Krejcie, R.V. & D.W. Morgan. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement. 30(3). 607-610.