THE DEVELOPMENT OF ONLINE LESSON WITH LEARNING PRINCIPLE PROCESS ON ENGLISH COURSES TO ENHANCE THE ABILITY OF LISTENING AND READING IN ENGLISH FOR UPPER ELEMENTARY STUDENTS AT BANKLONG 30 SCHOOL
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research were to 1) develop of online lesson with participatory learning process on English courses to have quality and efficiency at 80/80 criteria, 2) compare between pre test and post test after learning with online learning for upper elementary students at Banklong 30 school, 3) study the effectiveness index of learning with online lessons and 4) study the student’s satisfaction toward online lessons with Participatory Learning activities on English courses to enhance listening and reading skills in English for upper elementary students at Banklong 30 school. They were selected by purposive sampling within upper elementary school students. Ban Khlong 30 School, Nakhon Nayok Province. The research instruments were 1) lesson plan with the cooperative learning principle. 2) learning achievement test. 3) the satisfaction questionnaires of upper elementary students at Banklong 30 school. data were analyzed using descriptive statistics consisted of percentage, mean and standard deviation. the research results revealed that: 1) online lessons with the cooperative learning principle was the overall quality at a very good level and the efficiency was 84.27/88.80. 2) students learning achievement was higher than pretest is statistically significant. 05 3) The E.I was at 0.79, and 4) the students’ satisfaction towards online lessons was at highest level.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้นเพียงผู้เดียว และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์และจะแจ้งให้เจ้าของบทความทราบหลังจากผู้ประเมินบทความตรวจอ่านบทความแล้ว
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
References
กมลวรรณ โคตรทอง และวิสาข์ จัติวัตร์. (2558). การพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษจากนิทานอาเซียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ Storyline สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านเป้า (สำราญไชยวิทยา) จังหวัดชัยภูมิ. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 8(2). 2255-270.
กรกนก ยงค์โภชน์. (2561). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ วิชาประวัติศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนเขากะลาวิทยาคม. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
นันทิมา นาคาพงศ์. (2559). การสร้างและพัฒนาแบบวัดบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบหลัก สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน).
โรงเรียนบ้านคลอง 30. (2564). ผลการทดสอบ o-net ระดับชาติ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. แหล่งที่มา https://sp.moe.go.th/sp_2563/info/?module=page_onet_province&id_province=26. สืบค้นเมื่อ 29 พ.ค. 2565.
วรเดช ทุมมะชาติ และมานิตย์ อาษานอก. (2561). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการแก้ปัญหาและการคิดวิเคราะห์ระหว่างการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน กับบทเรียนแบบเว็บเควสท์ เรื่อง การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 12(2). 301-312.
วาสนา อุตสาหะ และสุเทพ อ่วมเจริญ. (2556). การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กิจกรรมนันทนาการ. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 5(2). 232-243.
สำนักส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน. (2557). การยกระดับคุณภาพครูไทยในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: เมตตาการพิมพ์.
สิธาภรณ์ ปั่นพิมาย และณัฐพล รำไพ (2565). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง โครงสร้างร่างกายที่เป็นพื้นฐานความงาม สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร. 7(1). 57-66.
สุรินทร์ เพชรไทย. (2560). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์รายวิชาการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์โดยใช้อีเลิร์นนิ่ง. แหล่งที่มา https://research.kpru.ac.th/research2/pages/filere/26012018-05-31.pdf สืบค้นเมื่อ 25 ก.ค. 2565.
อรพรรณ วีระวงศ์. (2554). งานวิจัย มศว ระบุเด็กไทย เรียนอังกฤษเพื่อสอบมากกว่านำมาใช้ในชีวิตประจำวัน. แหล่งที่มา http://www.manager.co.th/campus/viewnews.aspx?newsID=9540000155943. สืบค้นเมื่อ 29 ก.ค. 2565.