THE DEVELOPMENT OF ADHD CHILD-TEACHING SKILLS ACCORDING TO BRAHMAVIHARA DHAMMA OF TEACHERS UNDER NONTHABURI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA 1
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research are: 1) to study the state of problems and obstacles in teaching ADHD children, 2) to develop ADHD-child-teaching skills and characteristics of teachers according Brahmavihara Dhamma, and 3) to propose guidelines for development of ADHD-child-teaching skills and characteristics according Brahmavihara Dhamma of teachers under Office of Nonthaburi Primary Educational Service Area 1. The quantitative data were collected by questionnaire from 169 samples and analyzed by mean and standard deviation. The qualitative information was obtained from in-depth interviews and analyzed by content analysis. The results of the study showed that: 1) The opinion on the state of problems and obstacles in teaching ADHD children of teachers under Office of Nonthaburi Primary Educational Service Area 1 was at a high level overall. The highest level was on positive reinforcement skills, instructional media skills, lesson summary skills, and listening skills. The high level was on listening skills, positive reinforcement skills, reading skills and lesson introduction skills. 2) The development of ADHD-child-teaching skills and characteristics according Brahmavihara Dhamma of teachers under Office of Nonthaburi Primary Educational Service Area 1 suggests that; (1) Teachers should keep ready before the start of the class, (2) To build reinforcement to ADHD children, (3) Readiness prior teaching, and 4) To have qualifications of Kalyanamitta according to Sappurisa Dhamma. 3) The guidelines for development of ADHD-child-teaching skills and characteristics according Brahmavihara Dhamma of teachers under Office of Nonthaburi Primary Educational Service Area 1 are as follows: (1) Loving-kindness (2) Compassion (3) Sympathetic Joy (4) Equanimity.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้นเพียงผู้เดียว และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์และจะแจ้งให้เจ้าของบทความทราบหลังจากผู้ประเมินบทความตรวจอ่านบทความแล้ว
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). นิยามคำศัพท์หลักสูตร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย .
เขียน วันทนียตระกูล. (2552). หลักการและวิธีการสอน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา.
ครูออดคอม. (2564). ทักษะการสรุปบทเรียน. แหล่งที่มา https://panisaae.wordpress. com สืบค้นเมื่อ 23 พ.ค. 2564.
ทิพย์วรรณ จุลิรัชนีกร. (2558). ผลของการใช้เทคนิคการชี้แนะทางวาจาควบคู่กับการเสริมแรงทางบวกที่มีต่อพฤติกรรมการเผชิญปัญหาของนักเรียน. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ทิศนา แขมมณี. (2554). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นพดล จันทร์เพ็ญ. (2539). การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร: แสงการพิมพ์.
พระมหาสมพร สมสํวโร (สามิลา). (2555). แรงจูงใจในการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาของอุบาสกอุบาสิกา ณ วัดเพชรสมุทร วรวิหาร อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2560). การศึกษาไทย 4.0 ปรัชญาการศึกษาเชิงสร้างสรรค์และสันติภาพ. กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยมหิดล. (2564). สถาบันสุขภาพจิตและวัยรุ่นราชนครินทร์ศูนย์กายภาพบำบัด. แหล่งที่มา https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/52194/ สืบค้นเมื่อ 10 พ.ค. 2564.
ฤทัยรัตน์ ศรีพวงมาลัย. (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านการฟังภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยการจัดการเรียนรู้ผ่านพอดคาสต์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนหนองกุงศาลาน้ำเที่ยงวิทยากร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วารีรัตน์ แก้วอุไร. (2541). การพัฒนารูปแบบการสอนสำหรับวิชาวิธีสอนทั่วไปแบบเน้นกรณีตัวอย่าง เพื่อส่งเสริมความสามารถของนักศึกษาครูด้านการคิดวิเคราะห์แบบตอบโต้ในศาสตร์ทางการสอน. ดุษฎีนิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมัย ศิริทองถาวร. (2560). คู่มือการจัดการชั้นเรียนและเทคนิคการสอนเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นที่มีปัญหาการเรียน. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน. (2555). เด็กสมาธิสั้น คู่มือสำหรับครู. กรุงเทพมหานคร: บียอนด์พับลิสชิ่ง.
สุขเพ็ญ เหรียญเกษมสกุล. (2558). การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงโดยการใช้นิทานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/9. รายงานการวิจัย. โรงเรียนอัสสัมชัญ.
สุภาเพ็ญ คชพลายุกต์. (2541). ผลของการจัดกิจกรรมบำบัดต่อความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง ความคาดหวังในชีวิตและภาวะซึมเศร้าของเด็กที่ถูทารุณกรรม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.