BUDDHIST MARKETING STRATEGY FOR SCHOOLS UNDER OFFICE OF PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research article were 1) to study the problem conditions of educational institutions under Office of Primary Education Service Area, 2) to develop Buddhist marketing strategy, and 3) to propose Buddhist marketing strategies for schools under office of Primary Education Service Area. Mixed methods research was designed and the research steps were 1) to study the problem conditions of schools. A questionnaire was used for collecting data from 394 teachers, and the data were analyzed by statistical methods, namely percentage, frequency, mean, standard deviation, Priority Needs Index (PNImodified) and interviewed 5 key informants. 2) Develop Buddhist marketing strategies with focus group discussion of 9 experts. 3) Evaluate the strategy, the assessment form was used with a sample of 379 educational institute administrators. The data were analyzed by statistical analysis, namely percentage, frequency, mean, standard deviation. 4) To propose strategies. Results indicated that 1) the problem conditions of educational institutions under Office of Primary Education Service Area, the first priority was students and courses, the second was the process, the third was the creation and presentation of physical characteristics, the fourth was price, 2) the development of Buddhist marketing strategies for educational institutions. It consisted of vision, mission, objectives and strategy. The results of the strategy assessment revealed that the component with the highest mean at the highest level was accuracy and usefulness, and at a high level which were appropriateness and feasibility. 3) Buddhist marketing strategy for educational establishments with 4 components: Component 1 Vision, Component 2 Mission, Component 3 Objectives, and Component 4 Strategies which were 1) Marketing Strategies create perfection of learners, 2) Strategies to promote effective use of resources, 3) Strategies for developing educational promotion channels, 4) Strategies for promoting public relations to build school image, 5) Strategies for developing academic leadership recruitment, and 6) Strategies for building confidence in the quality of educational institutions.
Article Details
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้นเพียงผู้เดียว และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์และจะแจ้งให้เจ้าของบทความทราบหลังจากผู้ประเมินบทความตรวจอ่านบทความแล้ว
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
References
ธงชัย ช่อพฤกษา, (2554). การพัฒนากลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน. ดุษฎีนิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
พิรญาณ์ รณภาพ. (2564). ลดความเหลื่อมล้ำ นำไทยสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน. แหล่งที่มา https://www.pier.or.th/abridged/2021/06/ สืบค้นเมื่อ 30 ส.ค. 2564.
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ). (2557). ข้อเสนอว่าด้วยการปฏิรูประบบการศึกษาไทย. แหล่งที่มา http://pokpong.org/wp-content/uploads/education-reform-proposal.pdf สืบค้นเมื่อ 30 ส.ค. 2564.
สมปอง จันทคง. (2552). การจัดการศึกษาโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน. แหล่งที่มา https://www.kroobannok.com/24541 สืบค้นเมื่อ 30 ส.ค. 2564.
สิรกานต์ สุจิรา. (2550). ความคิดเห็นต่อการดำเนินงานด้านกลยุทธ์การตลาดของผู้บริหารโรงเรียนอนุบาลเอกชน จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุกัญญา จัตุรงค์ และอภิชาต เลนะนันท์. (2559). การบริหารหลักสูตรที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน โรงเรียนสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษภาคใต้ กลุ่ม 7, วารสารวิชาการ Veridian E – Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ. 9(1). 1473-1487.
True ปลูกปัญญา. (2562). กลยุทธ์ทางการตลาดสำหรับสถานศึกษา (Strategic Marketing For School). แหล่งที่มา https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/52234/-edu-teaartedu-teaart-teaartdir--. สืบค้นเมื่อ 21 พ.ย. 2562.
True ปลูกปัญญา. (2562). โรงเรียนขนาดเล็ก ภาระหรือโอกาส และรูปแบบการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก. แหล่งที่มา https://www.trueplookpanya.com/blog/content/71918/-blog-teaartedu-teaart-. สืบค้นเมื่อ 21 พ.ย. 2562.