การศึกษาสภาพและปัญหากระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ของนิสิตสาขาวิชาภาษาไทยกับสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์

Main Article Content

สิริกาณณ์ ทองมาก

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสภาพและปัญหาในการเรียนออนไลน์ของนิสิตสาขาวิชาภาษาไทยกับสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นิสิตสาขาวิชาภาษาไทยกับสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 91 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-Test ผลการวิจัยพบว่า นิสิตสาขาวิชาภาษาไทยกับสาขาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีสภาพและปัญหาการเรียนออนไลน์อยู่ใน ระดับมาก (gif.latex?\bar{x} = 3.63, S.D.= .03) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างพบว่า นิสิตสาขาวิชาภาษาไทยกับสาขาวิชาภาษาอังกฤษมีสภาพปัญหาการเรียนออนไลน์ไม่แตกต่างกัน

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

กรุงเทพธุรกิจ. (2564). เรียนออนไลน์ กับ 7 ปัญหาสุขภาพที่เด็กไทยต้องเจอ แก้ยังไงดี. ค้นเมื่อ10 ธันวาคม 2564, จาก https://www.bangkokbiznews.com/social/957001

งานโรคติดต่ออุบัติใหม่ กลุ่มพัฒนาวิชาการโรคติดต่อ. (2564). สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) มาตรการสาธารณสุข และปัญหาอุปสรรคการป้องกันควบคุมโรคในผู้เดินทาง. ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2564, จาก https://ddc.moph.go.th/uploads/files/2017420210820025238.pdf

ณัฐปคัลภ์ แซ่เอี้ย. (2562). พฤติกรรมการตั้งใจเรียนออนไลน์ในสถานการณ์โควิด-19 ของนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

บุญชม ศรีสะอาด. (2535). การใช้สื่อการสอนของครูในสถานศึกษา เขตสายไหมกรุงเทพมหานคร. ค้นเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6410/8/Chapter3.pdf

มนัสนันท์หตัถศักดิ์ และปิยวัตน์ ดิลกสัมพันธ์. (2564). การศึกษาสภาพปัญหา และความพึงพอใจในการเรียนรูปแบบออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด19) ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน. วารสารวิจัยทางการศึกษา, 16(1), 202-213.

มหาวิทยาลัยนเรศวร. (2564). แนวทางในการเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอนภาคเรียนปลาย ปีการศึกษา 2564. ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2564, จาก https://www.nu.ac.th/?p=24713

ราชกิจจานุเบกษา. (2563). ประกาศกระทรวงมหาดไทย ประกาศและคำสั่งของจังหวัดที่ออกโดยผู้ว่าราชการจังหวัด ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558. ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2564, จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/104_3/1.PDF

สุปรีดา อดุลยานนท์. (2564). โควิด-19 พ่นพิษ ผู้ปกครองกังวลผลกระทบคุณภาพการศึกษาเมื่อเด็กไทย 70% เครียดเพราะเรียนออนไลน์. ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2564, จาก https://mgronline.com/qol/detail/9640000082381

Hussin WNTW, Shukor HJ, Shukor NA. (2019). Online interaction in social learning environment towards critical thinking skill: A framework. Journal of Technology and Science Education, 9(1), 4-12.

Satharatthana, T. (2021). การ จัดการ เรียน การ สอน ภาษา อังกฤษ ใน วิถี ชีวิต ใหม่ ใน บริบท การ ศึกษา ของ ประเทศไทย. Journal of Industrial Education, 20(3), C1-C15.

Suebvises, P. (2023). การ ศึกษา ปัจจัย ที่ มี ผล ต่อ การ เรียน การ สอน ด้วย เทคโนโลยี ดิจิทัล ของ มหาวิทยาลัย ไทย. Journal of Social Science and Cultural, 7(8), 232-243.