การออกแบบการประเมินเพื่อการเรียนรู้ในรายวิชาชีววิทยาเพื่อพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์

Main Article Content

จตุพร อินทร์พิมพ์
สมพงษ์ พันธุรัตน์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การออกแบบการประเมินเพื่อการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ 2) เพื่อหาคุณภาพการออกแบบการประเมินเพื่อการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร จำนวน 36 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1)คู่มือการออกแบบการประเมินเพื่อการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลเชิงิวิทยาศาสตร์ และแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต  จำนวนวน 5 แผน 2)แบบทดสอบวัดความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ เรื่องการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่  ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า คุณภาพการออกแบบการประเมินเพื่อการเรียนรู้ตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้ มากที่สุด (X = 4.67 ,S.D =0.47 )  คู่มือการออกแบบการประเมินเพื่อการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ มี่ความชัดเจนมากที่สุด (X =4.88 , S.D. =0.17)  ความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียน อยู่ในระดับ คุณภาพดี  (X = 15.19,S.D = 1.07 )

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

นลินี สอนชาและคณะ. (2560). ความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในวิชาชีววิทยา. บทความวิจัยการประชุมทางวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 56.

พีระ พนาสุภน. (2560). การปฏิรูปการศึกษาเพื่อการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21. ค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2560, จาก http://www.peerapanasupon.com/wp-content/uploads/2014/06.

ภัทราภรณ์ ดอกบัว. (2559). การประเมินเพื่อการเรียนรู้กระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง วงจรไฟฟ้า สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวัดและประเมินผลบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ภัทราวรรณ ไชยมงคล และ คณะ. (2560). การพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์โดยการจัดการเรียนรู้ ด้วยรูปแบบการสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีโต้แย้ง.วารสารหน่วยวิจัย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 8(1), 27-40.

ศูนย์บริการิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (2557). เอกสารการฝึกอบรมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). การวัดและประเมินผลทางวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2551 (ปรับปรุง 2560). กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สโรชา แซวกระโทก. (2560). การพัฒนารูปแบบการประเมินเพื่อการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิจัยและประเมินผล บัณฑิตวิทาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.

สุภางค์ จันทวานิช. (อ้างถึงใน ภัทราภรณ์ ดอกบัว,2559). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สุวิมล ว่องวาณิช. (2550). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. พิมพ์ครั้งที่10. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

สำนักทดสอบทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานพระพุทธศาสตร์

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). นิยามศัพท์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2560). การประเมินเพื่อการเรียนรู้: การตั้งคำถามและการให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทวงศึกษาธิการ.

Assessments Reform Group. (2002). Assessment for Learning: 10 Principles. Retrieved November 10, 2014, from http//www.aaia.org.uk/afl/assessment-reform-group.

Berry, R. (2008). Assessment for Learning. RetrievedNovember10, 2014, from http//educa2014.com/wp-conten/uploads/2014/06/Prof. RitaBERRY. pdf.

Berry, R. (2014). Assessment for Learning in Hong Kong School. New York: Routiedge.

Giaka. O. (2003). Assessment for Learning in biology lesson. The Journal of JBE, 41(3). 213-221.

Mashman, D. (2011). Adolescent rationality and development: Cognition, morality, and identity. (3th ed.). USA: Taylor and Francis Group,LLC.

Lawson, A. E. (2009). Basic inferences of scientific reasoning, argumentation, and discovery. Science Education, 94(2), 356 – 362.

Stiggins, R. J., & Chappuis, J. (2012). An Introduction to Student Involved Assessment for Learning. Boston, MA: Pearson.

Talib, R. (2014). From Principle to Practice: Assessment for Learning in Malaysian School – Based Assess Classroom. International J. Soc. Sci. & Education, 4Z4X, 343 – 351.