CONSTRUCT VALIDITY OF COGNITIVE ABILITY TEST SOFTWARE IN THE ACCURACY DIMENSION
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบความตรงเชิงทฤษฎีของซอฟแวร์แบบวัดความสามารถเชิงพุทธิปัญญาในมิติความถูกต้อง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 1,504 คน ซอฟแวร์แบบวัดความสามารถเชิงพุทธิปัญญา มีทั้งหมดจำนวน 8 แบบวัด เพื่อวัดความตั้งใจและความจำขณะทำงาน ตรวจสอบความตรงเชิงทฤษฎี โดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัยพบว่า ซอฟแวร์แบบวัดความสามารถเชิงพุทธิปัญญา มีความตรงเชิงทฤษฎี และดัชนีความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดล มีค่าตามเกณฑ์ที่ยอมรับได้ กล่าวคือ (1) ค่าไคว์สแคว์ () เท่ากับ 18.295 โดยมีค่าองศาแห่งความเป็นอิสระ (df) เท่ากับ 13 และค่าความน่าจะเป็น (p-value) เท่ากับ 0.143 (2) อัตราส่วนค่าไคว์สแคว์สัมพัทธ์ (/df) มีค่าเท่ากับ 1.407 (3) ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนเปรียบเทียบ (CFI) เท่ากับ 0.999 (4) ดัชนี Tucker-Lewis coefficient (TLI) เท่ากับ 0.997 (5) ดัชนีรากของค่าเฉลี่ยกำลังสองของการประมาณค่าความคลาดเคลื่อน (RMSEA) เท่ากับ 0.016 (6) ดัชนีรากของค่าเฉลี่ยกำลังสองของส่วนเหลือมาตรฐาน (SRMR) เท่ากับ 0.014
Article Details
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). นโยบาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
กลุ่มสารสนเทศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). ข้อมูลนักเรียนปีการศึกษา 2560. ค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2561, จาก http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_student_area.php?Area_CODE=101732.
ทัศนีย์ บุญเติม, จตุภูมิ เขตจัตุรัส, จักรกฤษณ์ สำราญใจ, จุติมา เมทนีธร, จินตนาภรณ์ วัฒนธร, สถภาพร มัชฌิมะปุระ และคณะ. (2557). การพัฒนาเครื่องมือวัดทางพุทธิปัญญา (ฉบับภาษาไทย). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้น Lisrel: สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศานิตย์ ศรีคุณ, อิสรานุวัฒน์ ศรีคุณ และ นายอนุชิต กุระจินดา. (2561). การพัฒนาซอฟแวร์แบบวัดความสามารถเชิงพุทธิปัญญา: ความตั้งใจและความจำขณะทำงาน. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา.
ศานิตย์ ศรีคุณ. (2560). การตรวจสอบความตรงเชิงทฤษฎีของแบบวัดจริยธรรมในกระบวนการวิจัย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 40(4), 47-58.
Apape, M. M., Verdonschot, G. R., Dantzig, V. S., & Steenbergen, V. H. (2014). The E-Primer: An introduction to creating psychological experiments in E-Prime®. Netherlands: Leiden University Press.
Gathercole, E. S., Dunning, I. D., Holmesw, J., & Norris, D. (2019). Working memory training involves learning new skills. Journal of Memory and Language, 105(1), 19-42.
Feiler, J. B., & Stabio, M. E. (2018). Three Pillars of Educational Neuroscience from Three Decades of Literature. Trends in Neuroscience and Education, 13, 17-25.
Johnson, R., & Wichern, D. (2014). Applied Multivariate Statistical Analysis. 6th ed. Upper Saddle River, NJ: Pearson.
Kelloway, K. E. (2015). Using M-Plus for Structural Equation Model. 2nd. USA: SAGE Plublication, Inc.
Kline, R. B. (2016). Principles and Practice of Structural Equation Modeling. 4th ed. New York: Guilford Publications.
Meltzer, L. (2010). Promoting Executive Function in the Classroom. New York: The Guilford Press.
Muthen, K. L., & Muthen, O. B. (2017). Mplus statistical analysis with latent variables User Guided. 8th. Los Anges: CA.
Srikoon, S., Bunterm, T., Nethanomsak, T., & Ngang, T. K. (2016). Construct Validity and Measurement Invariance of the Research Skill Inventory. Mediterranean Journal of Social Sciences, 7(3), 366-377.
Srikoon, S., Bunterm, T., Nethanomsak, T., & Ngang, T. K. (2017). A Comparative Study of the Effects of the Neurocognitive-based Model and the Conventional Model on Learner Attention, Working Memory and Mood. Malaysian Journal of Learning and Instruction, 14(1), 83-110.
Srikoon, S., Viriyapong, N., and Chutiman, N. (2018). Examining Construct Validity and Measurement Invariance of Mood across Gender and Grade. Journal of Education Khon Kaen University, 41(1), 17-38.
Tolmie, A. (2015). Neuroscience of Education. International Encyclopedia of the Social & Behavioral Sciences. 2nd. 728-735.