WIDENING THE LEARNERS’ WORLD THROUGH INTEGRATION

Main Article Content

จารุวัจน์ สองเมือง

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางในการปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนรู้เพื่อให้สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยแนวทางการปรับเปลี่ยนที่สำคัญจะต้องสอดคล้องกับโลกการเรียนรู้ของเด็กและแนวทางการบูรณาการการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างการเรียนรู้ที่มีคุณค่ากับเด็ก  การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเป็นการเชื่อมโยงจากหนึ่งประสบการณ์ของเด็กไปยังความรู้ที่หลากหลายเนื้อหาและวิชาผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่ดำเนินการโดยผู้เรียนด้วยวิธีการที่ตนเองมีความถนัดและมั่นใจ ในขณะที่ครูผู้สอนปรับเปลี่ยนไปสู่การเป็นผู้หนุนเสริมการเรียนรู้ กระบวนการเพื่อขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการในชั้นเรียน ประกอบด้วย 1) การทำความเข้าใจหลักสูตร 2) การกำหนดสมรรถนะผู้เรียนที่ต้องการ 3) กำหนดหน่วยและกลยุทธ์การเรียนรู้ 4) ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงกับสถานการณ์ที่น่าสนใจ 5) หนุนเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน และ 6) สร้างความภูมิใจในผลการเรียนรู้

Article Details

บท
บทความปริทัศน์ (Review Article)

References

จารุวัจน์ สองเมือง และอิบรอฮิม อัลมุสตอฟา. (2559). การจัดการเรียนการสอนในความแตกต่างของผู้เรียน: แบบอย่างจากศาสนทูต (ซ.ล.). วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 27(2), 12-20.

จารุวัจน์ สองเมือง. (2551). สภาพ ปัญหา ความต้องการด้านสื่อการสอนของครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 14(1), 69-84.

จารุวัจน์ สองเมือง. (2558). การจัดการเรียนรู้อิสลามศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 21. ใน บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี. การบูรณาการองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาสู่สังคมสันติสุขและประชาคมอาเซียน. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2. (หน้า 183- 190). ปัตตานี: บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.

ฉัตรชัย หวังมีจงมี และ องอาจ นัยพัฒน์, (2560). สมรรถนะของครูไทยในศตวรรษที่ 21: ปรับการเรียน เปลี่ยนสมรรถนะ. สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 12(2), 47-63.

ธีรวัจน์ อุดมสินเจริญกิจ. (2559). ไทยแลนด์ 4.0 และการตลาด 3.0 กับความอยู่รอดของธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์. วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร, 1(1), 78-86.

นพมาศ หงษาชาติ. (2553). การพัฒนารูปแบบการอบรมครูสอนภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษาของจังหวัดฉะเชิงเทราโดยบูรณาการแนวคิดทฤษฎีภาษาศาสตร์ยุคหลังสมัยใหม่. วารสารศิลปศาสตร์, 2(2), 48- 67.

นฤมล เทพนวล. (2558). การศึกษาพฤติกรรมการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วารสารศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, 7(2), 78-97.

พัชนี กุลฑานันท์, พิสิฐ เมธาภัทร, ไพโรจน์ สถิรยากร และมนต์ชัย เทียนทอง. (2554). การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมครูแบบผสมผสานในการทำวิจัยในชั้นเรียน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 5(2), 97-115.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพรทิพย์ แข็งขัน. (2550). สมรรถนะครูและแนวทางการพัฒนาครูในสังคมที่เปลี่ยนแปลง. ใน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. “โอกาสและความหวังในการพัฒนาการศึกษาไทย” เนื่องในโอกาสเฉลิมฉลอง 50 ปี คณะครุศาสตร์ 90 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ 115 ปี การฝึกหัดครูไทย. รายงานการประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวิจัยระดับชาติ. (หน้า 402-407). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วัชชิรานนท์ ทองเทพ. (2560). สื่อไทยยุค 4.0 (1) : สิ่งพิมพ์ยังซบเซา นักข่าวเสี่ยงตกงานเพิ่ม. สำนักข่าวบีบีซี ประจำประเทศไทย. ค้นเมื่อ 12 มกราคม 2562, จาก http://www.bbc.com/thai/thailand-39176803

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2557). สาระสังเขปประเด็นการปฏิรูปประเทศไทยด้านการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

สุวิมล เชี้ยวแก้ว. (2557). สอนดีมีประสิทธิภาพ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 25(3), 12-18.

AbdRahman, F., Scaife, J., Yahya, N., & AbJalil, A. (2010). Knowledge of Diverse Learners: Implications for the Practice of Teaching. International Journal of Instruction, 3(2), 83-96.

Baker, D. (2013). Art Integration and Cognitive Development. Journal for Learning through the Arts, 9(1), 1-15.

Guthrie, J. T., Wigfield, A., & VonSecher, C. (2000). Effects of Integrated Instruction on Motivation and Strategy Use in Reading. Journal of Educational Psychology, 92(2), 331-341.

Kurt, K., & Pehlivan, M. (2013). Integrated programs for science and mathematics: review of related literature. International Journal of Education in Mathematics, Science and Technology, 1(2), 116-121.

Spada, N., & Lightbown, P. M. (2008). Form-Focused Instruction: Isolated or Integrated?. TESOL Quarterly, 42(2), 181-208.

Symantec. (2017). 2017 Internet Security Threat Report. Retrieved Jan 15, 2018, from https://www.symantec.com/content/dam/symantec/docs/reports/istr-22-2017-en.pdf