TEACHING AND LEARNING THAT EMPHASIZES SCIENTIFIC COMPETENCIES

Main Article Content

ลือชา ลดาชาติ
ลฎาภา ลดาชาติ

บทคัดย่อ

ประเทศไทยเข้าร่วมโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA) ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2543 ถึงแม้ว่าหน่วยงานต่างๆ พยายามยกระดับคุณภาพการศึกษาวิทยาศาสตร์ แต่ผลการประเมินด้านการรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนไทยยังคงต่ำกว่าค่าเฉลี่ย บทความนี้เสนอว่า กิจกรรมการเรียนรู้ต้องเน้นสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นองค์ประกอบของการรู้วิทยาศาสตร์ตามนิยามของกรอบการประเมินผล ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสพัฒนาการรู้วิทยาศาสตร์ ในการนี้ บทความได้ยกตัวอย่างรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ อาทิ การออกแบบการศึกษาด้วยปากเปล่า การวิเคราะห์ฐานข้อมูล การสร้างคำอธิบายจากหลักฐาน การประเมินหลักฐาน การทดลองเสมือนด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และการลงมือปฏิบัติการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งส่วนใหญ่มาจากการวิเคราะห์ของ Chinn & Malhotra (2002)

Article Details

บท
บทความปริทัศน์ (Review Article)

References

กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ. (2557). ระดับน้ำทำนายสูงสุด-ต่ำสุด ปี 2557. ค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2557, จาก http://www.hydro.navy.mi.th/services2014.htm

กระทรวงศึกษาธิการ (2557). ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี 19/2557: การประชุมเพื่อยกระดับผลการทดสอบ PISA. ค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2557, จาก http://www.moe.go.th/websm/2014/jan/019.html

จีระวรรณ เกษสิงห์ และ วรรณทิพา รอดแรงค้า. (2553). กรณีศึกษาความเข้าใจและการปฏิบัติของครูวิทยาศาสตร์ในการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้. วิทยาสารเกษตรศาสตร์ (สาขาสังคมศาสตร์), 31(1), 1 – 16.

ธงชัย ชิวปรีชา. (2555). การใช้การสอบขับเคลื่อนการสอน. นิตยสาร สสวท., 40(175), 12 – 13.

พงศ์ประพันธ์ พงษ์โสภณ. (2552). สอนวิทยาศาสตร์อย่างที่วิทยาศาสตร์เป็น. วารสารวิทยาศาสตร์, 63(1), 84 – 89.

ลฎาภา สุทธกูล และ ลือชา ลดาชาติ. (2556). การให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 21(3), 107 – 123.

ลือชา ลดาชาติ, กมลรัตน์ ฉิมพาลี, ณิชัชฌา อาโยวงษ์, นพคุณ แงวกุดเรือ, สำเร็จ สระขาว, ชื่นหทัย หวังเอียด, และคณะ (2558). การลงข้อสรุปและสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ, 35(1), 171 – 206.

ลือชา ลดาชาติ, และ กาญจนา มหาลี. (2560). ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 7(2), 284-310.

ลือชา ลดาชาติ และโชคชัย ยืนยง. (2559). สิ่งที่ครูวิทยาศาสตร์ไทยควรเรียนรู้จากโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ. วารสารปาริชาต, 28(2), 108-137.

ลือชา ลดาชาติ และโชคชัย ยืนยง. (2560). การใช้กิจกรรมการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาการรู้วิทยาศาสตร์ของครูและศึกษานิเทศก์. วิทยาสารเกษตรศาสตร์ (สังคมศาสตร์), 38(1), 482-492.

ศักดิ์ศรี สุภาษร. (2554). กระบวนการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ในการทดลองเคมีระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย: การทบทวนงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ศึกษาจากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 22(3), 331 – 343.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [สสวท.]. (2554). กรอบโครงสร้างการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ PISA 2009. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [สสวท.]. (2555). ตัวอย่างข้อสอบการประเมินผลนานาชาติ PISA และ TIMSS: วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [สสวท.]. (2556). ผลการประเมิน PISA 2012 คณิตศาสตร์ การอ่าน และวิทยาศาสตร์: บทสรุปสำหรับผู้บริหาร. สมุทรปราการ: แอดวานซ์ พริ๊นติ้ง เซอร์วิส.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [สสวท.]. (2560ก). ประเด็นหลักและนัยทางการศึกษาจาก PISA 2015: บทสรุปสำหรับผู้บริหาร. กรุงเทพฯ: ซัคเซสพับลิเคชั่น.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [สสวท.]. (2560ข). สรุปข้อมูลเบื้องต้น PISA 2015. ค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2560, จาก http://pisathailand.ipst.ac.th /pisa/reports/pisa-2015-basic-summary

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [สสวท.]. (2560ค). สรุปผลการวิจัย PISA 2015. ค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2560, จาก http://pisathailand.ipst.ac.th /pisa/reports/pisa2015summaryreport

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2557). กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรไทย (น.ส.พ. ฟ้าเมืองไทย).

Calendar-365. (2015). Moon Calendar. Retrieved May 28, 2015, from http://www.calendar-65.com/moon/moon-calendar.html

Chinn, C.A., & Malhotra, B. A. (2002). Epistemologically Authentic Inquiry in Schools: A Theoretical Framework for Evaluating Inquiry Tasks. Science Education, 86(2), 175 – 218.

Hodson, D. (2014). Learning Science, Learning about Science, Doing Science: Different Goals Demand Different Learning Methods. International Journal of Science Education, 36(15), 2534-2553.

Lederman, J.S., Lederman, N.G., Bartos, S.A., Bartels, S.L., Meyer, A. A., & Schwartz, R.S. (2014). Meaningful Assessment of Learners’ Understandings About Scientific Inquiry—The Views About Scientific Inquiry (VASI) Questionnaire. Journal of Research in Science Teaching, 51(1), 65 – 83.

Mortimer, E.F., & Scott, P.H. (2003). Meaning Making in Secondary Science Classrooms. Berkshire: Open University Press.

Organization for Economic Cooperation and Development [OECD]. (2013). PISA 2015: Draft Science Framework. Retrieved March 11, 2014, from http://www.oecd.org/pisa/pisaproducts/Draft%20PISA%202015%20Science%20Framework%20.pdf

The World Bank. (2012). Learning Outcomes in Thailand: What Can We Learn from International Assessment?. Retrieved March 5, 2014, from https://openknowledge.worldbank.org/handle/10986/2723

Tsai, C. (2015). Improving Students’ PISA Scientific Competencies through Online Argumentation. International Journal of Science Education, 37(2), 321-339.

University of Colorado. (2015). PhET Interactive Simulations. Retrieved May 29, 2015, from https://phet.colorado.edu/th/