การสรรหาและการรักษาคนเก่งด้วยกลยุทธ์การสร้างแบรนด์นายจ้าง

ผู้แต่ง

  • สุรีย์พร สลับสี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
  • พงษ์พัต วัฒนพงศ์ศิริ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

คำสำคัญ:

แบรนด์นายจ้าง, การจัดการทรัพยากรมนุษย์, กลยุทธ์

บทคัดย่อ

การสร้างแบรนด์นายจ้างเป็นแนวคิดที่ดึงกลยุทธ์การตลาดเข้ามาผสมผสานกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นเครื่องมือในกระบวนการสรรหาและกระบวนการรักษาพนักงานที่มีคุณภาพและศักยภาพสูงเข้ามาปฏิบัติในองค์การ กล่าวคือ เป็นการสร้างภาพลักษณ์ขององค์การให้เป็นที่ประทับใจกลุ่มเป้าหมายในตลาดแรงงาน เพื่อดึงดูดทรัพยากรมนุษย์ที่จะเข้ามาในองค์การให้ตรงกับความต้องการและมีคุณสมบัติเหมาะสมกับลักษณะงานนั้น ๆ ดังนั้นวัตถุประสงค์หลักของบทความนี้คือการนำเสนอประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกลยุทธ์การสร้างแบรนด์นายจ้าง เพื่อสนับสนุกระบวนการการสรรหาพนักงานและกระบวนการรักษาพนักงานพนักงาน (คนเก่ง) ซึ่งในส่วนแรกจะนำเสนอเกี่ยวกับแนวคิดของการสรรหาทรัพยากรมนุษย์ที่มีศักยภาพสูง ส่วนที่สองเป็นการรักษาคนเก่งให้อยู่กับองค์การ ส่วนที่สามการสร้างแบรนด์นายจ้างดึงดูคนเก่ง และส่วนสุดท้ายเป็นการเสนอกลยุทธ์แบรนด์นายจ้างตามแนวคิด Employer Brand Mix สำหรับองค์การ 12 กลยุทธ์ ได้แก่ 1) กลยุทธ์การจัดการชื่อเสียงภายนอก 2) กลยุทธ์การสื่อสารภายในองค์การ 3) กลยุทธ์สร้างภาวะผู้นำ 4) กลยุทธ์สร้างค่านิยมและความรับผิดชอบต่อสังคม 5) กลยุทธ์สร้างระบบการวัดผลภายในองค์การ 6) กลยุทธ์ด้านบริการ 7) กลยุทธ์การสรรหาและการให้เข้ารับตำแหน่ง 8) กลยุทธ์การบริหารจัดการทีม 9) กลยุทธ์การประเมินผลการปฏิบัติงาน 10) กลยุทธ์การเรียนรู้และการพัฒนา 11) กลยุทธ์บริหารค่าตอบแทนและการยอมรับ 12) กลยุทธ์การสร้างสภาพแวดล้อมในการทำงาน ทั้งนี้เพื่อเป็นกลยุทธ์สำหรับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ

References

กอบกุล เลิศกษิต. (2537). ระบบการสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรขององค์การเอกชน. วิทยานิพนธ์
ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ดนัย เทียนพุฒ. (2545). การออกแบบและพัฒนาความรู้ในองค์กรโดยมืออาชีพเพื่อมืออาชีพ” กรุงเทพมหานคร: นาโกตา.

พีระพงษ์ จันทวโร. (2559). การศึกษาสมรรถนะด้านการทำงานเป็นทีมของกำลังพล กองบัญชาการสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ: เอกสารวิจัย. กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยเสนาธิการทหาร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ.

ภาวิน ศิริประภานุกูล. (2547, 15 เมษายน). ว่าด้วยการพัฒนาทุนมนุษย์. ประชาชาติธุรกิจ, หน้า 2.

รตินันท์ ชัยวิบูลย์เวช. (2561, 27 เมษายน). ศึกษากลยุทธ์ “Employer of Choice” ของ All Inspire
ทางลัดในการดึงแรงงานหัวกะทิ. Brand inside. ค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2563, จาก https://brandinside.asia/all-inspire-employer-of-choice/

วัลภา ศุขใหญ่. (2562, 20 พฤศจิกายน). ‘สิงห์’ กวาด 3 รางวัลสุดยอดนายจ้างดีเด่น จากเวที Best Employers Thailand 2019. Positioning. ค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2563, จาก https://positioningmag.com/1254221

สำนักงาน ก.พ. (2547). คู่มือภาพรวมระบบข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง. ค้นเมื่อ 10 เมษายน 2562,
จาก https://www.ocsc.go.th/HiPPS

หัสพร ทองแดง, ยุทธนา ไชยจูกุล, วิชุดา กิจธรธรรม และพัชนี เชยจรรยา. (2561). กระบวนการสร้างและการสื่อสารแบรนด์ภายในองค์กรกับพฤติกรรมการสนับสนุนแบรนด์ของพนักงานองค์กรเอกชนรุกตลาดอาเซียน. วารสารสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ. 4 (1), หน้า 274-290.

Ambler, T., & Barrow, S. (1996). The employer brand. Journal of Brand Management. 4(3), pp. 185-206.

Backhaus, K., & Tikoo, S. (2004). Conceptualizing and researching on employer branding. Career Development International. 9 (5), pp. 501-517.

Balmer, J., & Gray, E.R. (1998). Managing corporate image and corporate reputation. Long Range Planning. 31 (5), pp. 695-702.

Barrow, S., & Mosley, R. (2006). The Employer Brand: Bringing the Best of Brand Management to People at Work. Chichester : John Wiley & Sons.

Berger, L. A., & Berger, D. (2004). The Talent Management Handbook: Creating Organizational Excellence by Identifying, Developing and Promoting Your Best People. New York: McGraw-Hill.

Breaugh, J. A., & Starke, M. (2000). Research on employee recruitment so many remaining questions. Journal of Management. 26 (3), pp. 405-434.

Chowdhury, S. (2002). The Talent Era: Achieving a High Return on Talent. New York, NY: Prentice Hall.

Dale, Y. (1978). Personal Management and Industrial Relation. Ohio: Manager Company.

Russo, E. M. (1995). What’s My Communication Style? Organization Design and Development. Boston: Allyn and Bacon.

Flippo, E. B. (1966). Management: A Behavioral Approach. 2 nd ed. Boston: Allyn & Bacon.

Gibson, J. W., & Hodgetts, R. M. (1991). Organizational Communication: A Managerial Perspective. New York: HarperCollins Publishers.

Griffin, R. W. (1996). Management. Boston: Houghton Mifflin.

Hieronimus, F., Schaefer, K., & Schroder, J. (2005). Using branding to attract talent. McKinsey Quarterly. 2005 (3), pp.12-14.

Katoen, R.J., & Macioschek, A. (2007). Employer branding and talent-relationship-management–improving the organizational recruitment approach. Retrieved April 10, 2019, from https://journals.sagepub.com/doi/10.1177/0972150916631214

Kotler, P. (2000). Marketing Management: The Millennium Edition. Upper Saddle River, N.J.: Prentice-Hall.

Likert, R., & Likert, J.G. (1976). New Ways of Managing Conflict. New York: McGraw-Hill.

Martin, G., & Hetrick, S. (2006). Corporate Reputations, Branding and Managing People: A Strategic Approach to HR. Oxford: Butterworth Heinemann.

Mondy, R. W., & Noe, R. W. (1996). Human Resource Management. New York: Prentice Hall.

Plunkett, W. R., & Attner, R. F. (1994). Introduction to Management. Belmont, Calif: Wadsworth.

Rosethorn, H., Mensink, J. (2007). Employer Branding – More Than Just a Fashion Statement? Employer Branding: The Latest Fad or The Future For HR?. London: CIPD.

Theurer, C. P., Tumasjan, A., Welpe, I. M., & Lievens, F. (2018). Employer Branding: A brand equity-based literature review and research agenda. International Journal of Management Reviews. 20 (1), pp.155-179.

Xie, C., Bagozzi, R. P., & Meland, K. V. (2015). The impact of reputation and identity congruence on employer brand attractiveness. Marketing Intelligence & Planning. 33 (2), pp. 124-146.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-29