ผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของนักศึกษาปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

ผู้แต่ง

  • จณิสา เหล็กกล้า หลักสูตรบริหารบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • ณกมล จันทร์สม สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

คำสำคัญ:

กรอบมาตฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ, ผลลัพธ์การเรียนรู้, นักศึกษาปริญญาตรี

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันส่งผลต่อความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติแตกต่างกัน และ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันส่งผลต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2565 แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในครั้งนี้คือ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ปีการศึกษา 2563-2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ One-Way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการเปรียบเทียบ อายุ ชั้นปี สาขา และเกรดเฉลี่ยที่แตกต่างกันมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติแตกต่างกัน 2) ผลการเปรียบเทียบ อายุ ชั้นปี สาขา และเกรดเฉลี่ยที่แตกต่างกันมีผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2565 ด้านด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านจริยธรรม และด้านลักษณะบุคคลต่างกัน

Downloads

Download data is not yet available.

References

กรมวิชาการ. (2546). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.

กรรณิการ์ เหมือนประเสริฐ. (2548). ทัศนคติของพนักงานที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของพนักงานในองค์กรบริษัท คูเวต ปิโตรเลียม (ประเทศไทย) จำกัด. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ. (2566). กฎกระทรวงมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2565. ค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.thaiall.com/tqf/.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). คู่มือการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.

กองบรรณาธิการ. (2564). ‘โรคใหม่’ สร้าง ‘โลกแห่งการเรียนรู้ใหม่’: อนาคตการศึกษาไทยยุคหลัง COVID-19. ค้นเมื่อ 13 เมษายน 2566,จาก https://www.eef.or.th/future-of-thai- education-after-covid19/.

กอบกาญจน์ เหรียญทอง. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวตลาดน้ำอัมพวาจังหวัดสมุทรสงคราม. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการตลาด มหาวิทยาลัยสยาม.

คณะครุศาสตร์. (2564). วิชาการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. ค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2566, จาก https://eledu.ssru.ac.th/kannika_bh/course/view.php?id=3.

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต. (2554). ประวัติความเป็นมาและสถานภาพปัจจุบัน. ค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2566, จาก http://bba rsu.com/business/history.php.

จิรวัฒน์ กิติพิเชฐสรรค์. (2563). ความคิดเห็นของนักเรียนต่อคุณภาพบัณฑิต หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น. 7 (1), น. 129-145.

ชาญวิทย์ หาญรินทร์, และพงศ์เทพ โครตประทุม. (2559). ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและผลการเรียนรู้จริงตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของนักศึกษาปริญญาตรีสาขาคอมพิวเตอร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม. วารสารวิจัยสถาบันมหาวิทยาลัยขอนแก่น. 4 (2), น. 150-167.

ชินวัฒน์ ไข่เกตุ, ณัชชาจารย์ โรจน์วัฒนดิษกุล, ประกรณ์ ตุ้ยศร, ภัทร ยันตรกร, และธัชกร พุกกะมาน. (2564). ผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของนักศึกษาหลักสูตร ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา. 9 (1), น. 56-78.

ทองอินทร์ วงศ์โสธร, และปราณี สังขะตะวรรธน์. (2552). หนังสือสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 38. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานมูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยฯ.

ธันย์ชนก นันตติกูล. (2554). ระดับ TQF ของนิสิตปริญญาตรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน. การค้นคว้าอิสระปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นวรัตน์ ศึกษากิจ. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามความคิดเห็นของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาพาณิชยกรรมของโรงเรียนอาชีวศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษาและผู้ทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม.

บัณฑิต ทิพากร. (2563). Outcome Based Learning (OBL). ค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2566, จาก https://www.sc.su.ac.th/knowledge/km-learn.pdf.

ประหยัด พิมพา. (2561). การศึกษาไทยในปัจจุบัน. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด. 7 (1), น. 242-249.

ปราณี คำจันทร์, ทัชมาศ ไทยเล็ก, และศมนนันท์ ทัศนีย์สุวรรณ. (2565). ผลลัพธ์การเรียนรู้ตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลในการ จัดการเรียนรู้แบบไฮบริด รายวิชาการวิจัยเบื้องต้นทางการพยาบาล. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์. 42 (3), น. 63-73.

ภาณุวัตร รื่นเรืองฤทธิ์, วรปภา อารีราษฎร, และเนตรชนก จันทร์สว่าง. (2562). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและ นวัตกรรม. 6(1), น. 190-200.

วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2544). การพัฒนานิสิตนักศึกษา. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจิตร ศรีสอ้าน, ประดินันท์ อุปรมัย, พันทิพา อุทัยสุข, และสุมนทิพย์ บุญสมบัติ. (2553). 20101 พื้นฐานการศึกษา (Foundations of Education). (พิมพ์ครั้งที่ 33). นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สถาบันวิจัยเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (วสศ.). (2563). 5 สถานการณ์การศึกษาไทยที่ควรรู้ เพื่อเป้าหมายการศึกษาที่ยั่งยืน. ค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2566, จาก https://research.eef.or. th/5-สถานการณ์การศึกษาไทยที/.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1. (2564). แนวทางการเขียนข้อตกลงในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู ว9/2564. ค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.old.sakonarea1.go.th/news_file/p61259831027.pdf.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธการ. (2565). รายงานการศึกษาไทย พ.ศ. 2565 (Education in Thailand 2022). กรุงเทพมหานคร : พริกหวานกราฟฟิค.

สุปัญญา ไชยชาญ. (2551). การบริหารการตลาด. (พิมพ์ครั้งที่6). กรุงเทพมหานคร : พี.เอ.ลีฟวิ่ง.

สุพรรษา แป้นกลัด. (2554). ทัศนะของนักศึกษาที่มีผลต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ของคณะวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการอุดมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุรางค์ โค้วตระกูล. (2554). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อรนุช กำเนิดมณี. (2562). ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและผลการเรียนรู้จริงตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของนิสิตปริญญาตรี สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวิทยาลัยทักษิณ. วิจัยสถาบันคณะวิทยาการสุขภาพ และการกีฬา มหาวิทยาลัยทักษิณ.

อรินทร์ศักดิ์ รัตนะวงษ์, สถาพร ถาวรอธิวาสน์, และกัลยกร วงค์รักษ์. (2560). กลยุทธ์การสอนของหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ. วารสารศาสตร์การศึกษาและการพัฒนามนุษย์. 1 (2), น. 1-13.

อุทัยพร ไก่แก้ว. (2565). การพัฒนาความเข้าใจที่คงทนของคำศัพท์ภาษาอังกฤษในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้ชุดฝึกการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษด้วยโปรแกรมการเรียนรู้อย่างมีความหมายร่วมกับการฝึกย้ำความจำ: การศึกษาคลื่นไฟฟ้าสมองสัมพันธ์กับเหตุการณ์. ค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2566, จาก https://buuir.buu.ac.th/xmlui/bitstream/handle/ 1234567890/9293/2566_013.pdf?sequence=1&isAllowed=y.

อุ่นกัง แซ่ลิ้ม. (2565). การรับรู้เกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้าสำหรับผู้ไม่ใช้บุหรี่ไฟฟ้า. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Allgood, S., & Amanda, B. (2017). Learning Outcomes for Economists. American Economic Review. 107 (5), p. 64-660. Retrieved June 11, 2023, from https://www.aeaweb.org/articles?id=10.1257/aer.p20171070.

Bower, G. H., & Hilgard, E. R. (1981). Theories of learning. (5 th ed.). Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice-Hall Inc.

Eom, S., & Ashill, N. J. (2021). Learning Outcomes and Learner Satisfaction: The Mediating Roles of Self-regulated Learning and Dialogues. Journal of International Technology and Information Management. 32 (1), p. 1-31. Retrieved June 16, 2023, from https://scholarworks.lib.csusb.edu/jitim/vol32/iss1/1/.

Gove, P. B. (1993). Webster's third new international dictionary of the English language, unabridged. Springfield, Massachusetts : Merriam-Webster.

Harvey, L. (2004). Analytic Quality Glossary. Retrieved June 30, 2023, from ้ttps://www.qualityresearchinternational.com /glossary/quality.htm

Kheloui, S., Jacmin-Park, S., Larocque, O., Kerr, P., Rossi, M., Cartier, L., and Juster, R.-P. (2023). Sex/gender differences in cognitive abilities. Neuroscience & Biobehavioral Reviews. 152 (9). c. 105333.

Kimble, G. A. (1964). The nature of learning. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall.

Kozlinska, I., Mets, T., & Rõigas, K. (2020). Measuring learning outcomes of entrepreneurship education using structural equation modeling. Administrative Sciences. 10 (3), p. 1-17.

Likert, R. (1961). New Patterns of Management. New York : McGraw-Hill Book. Sherley, S. E. F., Prabakaran, R., & Lakshmi, S. V. V. (2023). SMART TEACHING: Learning framework for higher education. Annamalai International Journal of Business Studies & Research. 14 (2), p. 199.

Weeks, J. R. (2020). Population: An introduction to concepts and methods. (13 th ed.). Boston, Massachusetts : Cengage Learning.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-26