ความกตัญญูกตเวทีและการดูแลผู้สูงอายุในญี่ปุ่นและไทย : อิทธิพลทางวัฒนธรรมต่อการกำหนดนโยบายผู้สูงอายุที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
คำสำคัญ:
ความกตัญญู , วัฒนธรรม, การดูแลผู้สูงอายุ , การกำหนดนโยบายผู้สูงอายุ , ครอบครัวเป็นศูนย์กลางบทคัดย่อ
การวิจัยเชิงคุณภาพเรื่องความกตัญญูกตเวทีและการดูแลผู้สูงอายุในญี่ปุ่นและไทย : อิทธิพลทางวัฒนธรรม ต่อการกำหนดนโยบายผู้สูงอายุที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง เป็นการวิจัยเอกสาร โดยศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร ตำรา รายงานการวิจัยในประเทศและต่างประเทศ เว็บไซต์หน่วยงานราชการ กฎหมายที่เกี่ยวข้องของญี่ปุ่นและไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจปัจจัยด้านวัฒนธรรม ได้แก่ ค่านิยมเรื่องความกตัญญูกตเวที ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งในอีกหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อการกำหนดนโยบายผู้สูงอายุ การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นศึกษาเฉพาะโครงการระบบประกันการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขของญี่ปุ่นและโครงการระบบการดูแลระยะยาวในครอบครัวและชุมชนของไทย โดยผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยวัฒนธรรม คือ ความกตัญญู ซึ่งมีองค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1) การดูแลผู้สูงอายุโดยให้ความสำคัญกับความเป็นอิสระ 2) การดูแลผู้สูงอายุโดยให้ความสำคัญกับบทบาทครอบครัว และ 3) การดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน องค์ประกอบทั้งสามประการมีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายผู้สูงอายุของญี่ปุ่นและไทย
References
กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2565). สถิติผู้สูงอายุ.ค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.dop.go.th/th/know/side/1/1/1962.
กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ. (2565). สูงวัยในศตวรรษที่ 21: การเฉลิมฉลองและความท้าทาย. กรุงเทพมหานคร : กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ.
กรุงเทพธุรกิจ. (2566). ส่อง "ความกตัญญู" ในแง่มุม "จิตวิทยา" ที่อาจไม่ใช่การให้เงินพ่อแม่เสมอไป. ค้นเมื่อ 1กรกฎาคม 2566, จาก https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/995058
ดำรงศักดิ์ จันโททัย. (2563).บทเรียนการจัดการสังคมผู้สูงอายุจากประเทศญี่ปุ่น.วารสารนิติ รัฐกิจ และสังคมศาสตร์.4 (1), น.159-182.
พระครูพิพัฒน์ธรรมกิจ, สิทธิโชค ปาณะศรี, พระครูโฆสิตวัฒนานุกูล, พระครูวิจิตรรัตนวัตร.(2566).การประยุกต์ใช้หลักความกตัญญูกตเวทีในประเพณีวิถีชีวิตของชุมชนสุไหงปัตตานี อำเภอกัวลามูดา รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย.วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์.8 (1), น.181-189.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตนสถาน พ.ศ. 2554. ค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2566, จาก https://dictionary.orst.go.th/
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. (2563). คู่มือระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ. ค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.nhso.go.th/storage/downloads/main/37/%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD_LTC_.pdf
สิรินทร์ยา พูนเกิดและณปภัช สัจนวกุล. (2563). ที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุในสังคมไทย: แนวคิด พัฒนาการและมุมมองเชิงนโยบาย.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพฺเดือนตุลา.
Akiyama, H. (2020). Aging Policy and Filial Piety in Japan. Journal of Aging and Social Policy. 32(4), pp.220-228.
Balthip, K., Suwanphahu, B., & McSherry, W. (2022). Achieving Fulfilment in Life: Cultivating the Mindset of Gratitude among Thai Adolescents. Sage Open. 12(1), pp.1-12.
Ministry of Health, Labour and Welfare. (2023). Long-term care insurance system of Japan. Retrieved July 23, 2023, fromhttps://www.mhlw.go.jp/english/policy/care-welfare/care-welfare-elderly/dl/ltcisj_e.pdf
Puraya, A., Piyakong, D., Wongwiggan, S., &Boonpracom, R. (2021). Exploring the elderly care system: A view from community in Thailand.Journal Ners. 16 (1), pp.89-95.
Scott, J. (1990). A matter of record: Documentary sources in social research. UK: Polity Press.
Tanaka, K. (2011). Culture of Respect: Sustaining Self, Dignity, and the Respect of Others. The Japan Foundation Newsletter. 39, pp.6-7.
UNFPA. (2023). World Population Dashboard. Retrieved July 3, 2023, from https://www.unfpa.org/data/world-population/JP
WHO. (2022). Long-term care.Retrieved July 2, 2023, from https://www.who.int/europe/news-room/questions-and-answers/item/long-term-care
Yumoto, Y. (2008). Intergenerational Relations in Japanese Families: An Exploratory Study of a Grandparent–Grandchild Relationship. Ageing & Society. 28(4), pp.585-603.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
Versions
- 2024-06-28 (3)
- 2023-12-26 (1)
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีและบุคลากรท่านอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว