การหาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อเน้น ความเข้าใจจากหนังสือพิมพ์และการใช้พจนานุกรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปฏิบัติ สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ผู้แต่ง

  • นพรัตน์ ปัญญาดิลกพงศ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

คำสำคัญ:

แบบฝึกทักษะ, หนังสือพิมพ์, พจนานุกรม, ประสิทธิภาพ, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการอ ่านภาษาอังกฤษเพื่อเน้น ความเข้าใจจากหนังสือพิมพ์และการใช้พจนานุกรมโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปฏิบัติของนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏธนบุรีตามเกณฑ์80/80และหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาจากแบบฝึกทักษะฯเครื่องมือที่ใช้ ประกอบด้วยแบบทดสอบสำหรับหาประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อเน้นความเข้าใจจากหนังสือพิมพ์และการใช้พจนานุกรม จำนวน 70ข้อกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรีภาคปกติมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีศูนย์ธนบุรีที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาภาษา อังกฤษเพื่อทักษะการเรียน (0150103และ0011104) ประจำภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2559จำนวน 156คน ผลการวิจัยพบว่าประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อเน้นความเข้าใจจากหนังสือพิมพ์ และการใช้พจนานุกรมคือ 82.16/81.25 ซึ่งมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์80/80 แสดงว่าแบบฝึกทักษะ ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพสูงและผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

คู่มือนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. (2556). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

จักรพรรดิคงนะ. (2550). การพัฒนาแบบฝึกการอ่านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับปัญหาของวัยรุ่นตอนต้น

สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวัดตาก้องอนุสรณ์ จังหวัดนครปฐม.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต ่างประเทศ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จุติมา ศรีบัว. (2555). การพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ ่านเพื่อความเข้าใจจากหนังสือพิมพ์และนิตยสาร
ภาษาอังกฤษ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม กรุงเทพมหานคร. Veridian E-Journal. 5 (1), pp.369-377.

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ. (2557).แนวปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง นโยบายการปฏิรูป
การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ. ค้นเมื่อ 14 ธันวาคม 2559 จาก www.reo1.moe.go.th
วิสาร์จิตวัตร์. (2541). การสอนอ่านภาษาอังกฤษ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น.

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2543). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร :
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

Davies, P. & Pearse, E. (2000). Success in English Teaching. Hong Kong : Oxford University
Press.

Gunning, J. P. (1992). Dictionary of Education. Bangkok : Thai WattanaPanich.

Laufer, B. (1997). The Lexical plight in second language reading: Words you don’t know,
words you think you know, and words you can’t guess. England:
Cambridge University Press.

Soekemi (1998). How to Use a Dictionary. Learners’ Dictionaries State of the Art.
Singapore: SEAMEO Regional Language Centre, 21 (3), pp.204-212.

Spache, G.D. & Spache,E.B. (1997).Reading in the Elementary School. New York: McGraw Hill.

Walcultt, C.C. (1989). Teaching Reading a Phonic/Linguistic Approach to
Developmental Reading. U.S.A. : Macmillan Publishing.

Wang, M. H. (2007). The effects of dictionary skills instruction on reading comprehension
of junior high EFL students in Taiwan. Taiwan : National Sun Yat-sen University.

Williams, E. (1994). Reading in the Language Classroom. 8th ed. London: MacMillan.

Willis, J. (1996). A Framework for Task-Based Learning. Edinburgh : Longman.
2562.indd 88 12/7/2562 16:07:4

Downloads