อิทธิพลของการรับรู้ของผู้บริโภคที่มีผลต่อทัศนคติ และความตั้งใจซื้อของสินค้ากุชชี่

ผู้แต่ง

  • ฐิติวรดา ด่านพิทักษ์กุล สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ทรงพร หาญสันติ สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

การรับรู้ของผู้บริโภค, ทัศนคติ, ิความตั้งใจซื้อ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. เพื่อศึกษาอิทธิพลการรับรู้ของผู้บริโภคที่มีผลต่อทัศนคติ สินค้ากุชชี่ 2. เพื่อศึกษาอิทธิพลทัศนคติที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้ากุชชี่ 3. เพื่อศึกษาอิทธิพลการรับรู้ของ ผู้บริโภคที่มีผลต ่อความตั้งใจซื้อสินค้ากุชชี่ โดยมีทัศนคติเป็นตัวแปรส ่งผ ่าน กลุ ่มตัวอย ่างคือ ผู้ที่เคย ซื้อสินค้ากุชชี่ และผู้ที่มีความตั้งใจจะซื้อสินค้ากุชชี่ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากผู้เคยซื้อสินค้ากุชชี่และผู้ที่มีความตั้งใจซื้อสินค้ากุชชี่ จำนวน 400 คน ทำการวิเคราะห์ โดยใช้สถิติ เชิงพรรณนา ได้แก่ ค ่าความถี่ ค่าร้อยละ ค ่าเฉลี่ย ส ่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติเชิงอนุมาน ในการทดสอบสมมติฐานของการวิจัย ด้วยวิธีการสร้างโมเดลสมการโครงสร้าง ค่าความสอดคล้องของโมเดล สมการโครงสร้างตามเกณฑ์ที่ยอมรับได้(ค่า CMIN/DF เท่ากับ 1.901 GFI เท่ากับ 0.866 CFI เท่ากับ 0.917 IFI เท่ากับ 0.918 RMR เท่ากับ 0.036 RMSEA เท่ากับ 0.048) ซึ่งสรุปผลการวิเคราะห์ดังนี้1. การรับรู้ ของผู้บริโภคมีอิทธิพลต่อทัศนคติสินค้ากุชชี่ ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ 0.642 2. ทัศนคติที่มีอิทธิพลต่อ ความตั้งใจซื้อสินค้ากุชชี่ ค ่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท ่ากับ 0.892 3. การรับรู้ของผู้บริโภคที่มีอิทธิพลต ่อ ความตั้งใจซื้อสินค้ากุชชี่ โดยมีทัศนคติเป็นตัวแปรส่งผ่าน ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ 0.573 อย่างมีนัย สำคัญที่ระดับ 0.001

References

กระทรวงพาณิชย์กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2561). สถิติการนำเข้าสินค้าฟุ่มเฟือย ประเภทอุปโภคบริโภค. ค้นเมื่อ 27 ตุลาคม 2560, จาก www.ditp.go.th.

กัลยา วานิชย์บัญชา และฐิตา สานิชย์บัญชร. (2558). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สามลดา.

ปริรัตน์ มีเที่ยง และเพ็ญจิรา คันธวงศ์. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความตั้งใจที่จะซื้อเสื้อผ้าแฟชั่น. ใน อารีรัตน์แย้มเกสร (บรรณาธิการ). งานประชุมวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี2560. (น. 1130-1139). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต.

ศุลกากร. (2561). มูลค่าการนำเข้าสินค้าแบรนด์เนม. ค้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2560, จาก http://www.customs.go.th.

ศูนย์องค์ความรู้ด้านลักชัวรี่. (2562). เทรนด์การบริโภคสินค้าลักชัวรี่ของคนไทย. ค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2560, จาก www.luxellencecenter.com.

สุรพงษ์ คงสัตย์ และธีรชาติธรรมวงค์. (2551). การหาค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม. ค้นเมื่อ 27 ตุลาคม 2560, จาก www.mcu.ac.th/site/articlecontentdesc.php.

Arifani, M. V. & Haryanto, H. (2018). Purchase intention: implementation theory of planned behavior Study on reusable shopping bags in Solo City Indonesia. Earth and Environmental Science. 18 (200), p. 7.

Beneke, J. & Carter, S. (2015). The development of a consumer value proposition of private label brands and the application thereof in a South African retail on text. Journal of Retailing and Consumer Services. 2015 (25), pp. 22-35.

Blackwell, R. D., Miniard, R. D. & Engel, P. W. (2001). Consumer behavior. (9 th ed). New York: Harcourt College.

Chan, S. T. & Cui, G. (2002). Consumer beliefs and attitudes toward marketing: an emerging market perspective. Association for Consumer Research. 2002 (5), pp. 406-412.

Chao, R. F. (2016). The Impact of Brand Image and Discounted Price on Purchase Intention in Outlet Mall: Consumer Attitude as Mediator”. Journal of Global Business Management. 12 (2), pp. 119-128.

Cheng, P. L. (2017). Effects of Brand Image, Perceived Price, Perceived Quality, and Perceived Value on the Purchase Intention towards Sports and Tourism Products of the 2016 Taichung International Travel Fair. The Journal of International Management Studies. 12 (2), pp. 99-107.

Gayem, K. A. (2016). Examination of the Factors Affecting Consumers’ Attitude and Purchase Intent towards Luxury Fashion Goods in three cities of Khuzestan Ahvaz Abadan, Khorramshahr. International Journal of Humanities and Cultural Studies. 16 (01), pp. 2173-2176.

Gogoi, B. (2013). Study of antecedents of purchase intention and its effect on brand loyaltyof privatelabel brand ofapparel. International Journal of Sales & Marketing. 3 (2), pp. 73-86.

Gunawan, S. (2015). The Impact of Motivation, Perception and Attitude toward Consumer Purchasing Decision: A Study Case of Surabaya and Jakarta Society on Carl’s Junior. iBuss Management. 3 (2), pp. 154-163.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J. & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis (7 th ed). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall, p. 77.

IpsosMarketing. (2017). 10 แบรนด์สินค้าหรูที่คนไทยชื่นชอบ. ค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2561, จาก http:// www. positioningmag.com.

Jaafar, N. S. (2012). Consumers’ perception, attitudes and purchase intention towards privatelabel food products in Malaysia. Asian Journal of Business and Management Sciences. 2 (8), pp. 73-90.

Kumar, K. & Venkateshwarlu, V. (2017). Consumer Perception and Purchase Intention towards Smartwatches. Journal of Business and Management. 19 (1), pp. 26-28.

Laura, Y. T. (2016). The Influence of Brand Image, Service Quality and Perceived Price on Consumer Purchase Intention Case Study: PT Tiki Jalur Nugraha Ekakurir (JNE) Manado. Journal Berkala Ilmiah Efisiensi. 16 (4), pp. 696-708.

Lin, C. T. & Chuang S. (2018). The Importance of Brand Image on Consumer Purchase Attitude: A Case Study of E-Commerce in Taiwan. Journal of Global Business Management. 13 (3), pp. 91-104.

Lukman, H. & Setiawan, S. (2014). The Influence of Brand Image and Brand Attitude Toward Buying Interest the Case of Garuda Indonesia and Lion Air. Springer. 5 (2), pp. 1-6.

Marketingoops. (2017). ลักชัวรี่แบรนด์. ค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2560, จาก http://www.marketingoops. com.

Schiffman, G. & Wisenbit,L. (2015). Consumer behavior. (17thed). United Statesof America: Pearson Education.

Shin, N., Kim, H., Lim, S. & Kim, C. (2014). The Effect of Brand Equity on Brand Attitude and Brand Loyalty in Exhibition. EDP Sciences. 14 (12), pp. 1-7.

Statista. (2019). luxury goods segment. Retrieved June 16, 2019, from www.Statista.com.

Zhang, B. & Kim, J. H. (2013). Luxury fashion consumption in China: Factors affecting attitude and purchase intent. Journal of Retailing and Customer Services. 20 (1), pp. 68-79.

Downloads