ความหมายที่แท้จริงของค่า IOC
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งนำเสนอแนวคิดของ Rovinelli และ Hambleton ซึ่งได้ร่วมกันพัฒนาสูตรที่มีชื่อว่า Index of Item-Objective Congruence ตัวย่อ IOC โดยได้นำเสนอสูตรที่ปรากฏในบทความทางวิชาการที่สามารถสืบค้นได้จริงภายในประเทศไทย รวมทั้งได้วิเคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างของสูตรการหาค่า IOC ที่ปรากฏในแหล่งวิชาการต่างๆ พร้อมทั้งนำเสนอเงื่อนไขการใช้สูตรดังกล่าวของนักวิชาการผู้พัฒนา ซึ่งมีประเด็นที่สำคัญที่สืบค้นได้คือ แนวคิดของการหาค่า IOC ดังกล่าว มุ่งใช้การหาค่าความเที่ยงตรงรายข้อของข้อคำถามในแบบทดสอบอิงเกณฑ์ โดยในแบบทดสอบอิงเกณฑ์หนึ่งฉบับ จะประกอบด้วยวัตถุประสงค์มากกว่า 1 วัตถุประสงค์ และข้อคำถามข้อหนึ่ง ๆ ในแบบทดสอบดังกล่าวนั้นมุ่งวัดวัตถุประสงค์ข้อใดข้อหนึ่งเพียงวัตถุประสงค์เดียว แต่การปรับใช้การหาค่า IOC ในวงวิชาการประเทศไทยกลับเป็นว่า เป็นการหาค่าความเที่ยงตรงรายข้อของแบบทดสอบใดๆ ทางการศึกษา โดยสื่อความไปในแนวที่ว่า แบบทดสอบนั้นมุ่งวัดในวัตถุประสงค์ใด ๆ เพียงข้อเดียว และใช้สูตรการหาค่าเฉลี่ย () แบบธรรมดา
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนใดส่วนหนึ่งไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก่อนเท่านั้น
References
กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Hambleton, R.K. (1984). Validating the test scores. In R. A. Berk. (Ed). A guide to criterion
-referenced test construction. (199 – 223). Baltimore and London : The Johns
Hopkins University Press.
Nitko, A.J. and Hsu, T. (1984). Item Analysis appropriate for domain-referenced classroom
Testing. (Project Technical Report Number 1). Paper presented at the annual
meeting of the American Educational Research Association : Los Angeles. April
23 – 27, 1984). [Online] Available : https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED242781.pdf.”
Retrieved Feb 3, 2018.
Rovinelli, R.J. (1976). Methods for Validating Criterion-Referenced Test Items. Unplblisded
Doctoral Dissertation. University of Massachusetts Amherst. ). [Online] Available :
https://scholarworks.umass.edu/cgi/viewcontent.cgi?referer=https://www.google.
Co.th/&httpsredir=1&article=4661&context=dissertations_1 “
Rovinelli, R.J. and Hambleton, R.K. (1976). On the use of content specialists in the
assessment of criterion-referenced test item validity. Paper presented at the annual
meeting of the American Educational Research Association : California. April 19 –
23, 1976)0 [Online] Available : https://files.eric.ed.gov/fultlext/ED121845.pdf.
Retrieved Feb 3, 2018.
Turner, R.C., Mulvenon, S.W., Thomas, S.P. and Balkin, R.S. (2002). Computing Indices of
Item Congruence for Test Develpoment Validity Assessments. [Online]
Available : “https://www2.sas.comproceedings/sugi27/p255-27.pdf.“
Retrieved Feb 3, 2018.