Development of New Generation Teachers’ Characteristics Scale for Bachelor of Education 4th Year Student Surindra Rajabhat University; An Application of Differential Item Functioning

Main Article Content

ตรีคม พรมมาบุญ

Abstract

การวิจัยเรื่องการพัฒนาแบบวัดคุณลักษณะครูยุคใหม่สาหรับนักศึกษาครุศาสตรบัณฑิต มีวัตถุประสงค์
เพื่อ 1) พัฒนาโมเดลการวัดและสร้างแบบวัดคุณลักษณะของครูยุคใหม่สาหรับนักศึกษาครุศาสตรบัณฑิต ชั้นปี
ที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 2) ตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดคุณลักษณะของครูยุคใหม่สาหรับนักศึกษา
ครุศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ กลุ่มตัวอย่าง จานวน 1,044 คน เครื่องมือในการวิจัย
คือ แบบวัดคุณลักษณะของครูยุคใหม่สาหรับนักศึกษาครุศาสตรบัณฑิต วิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือ ได้แก่
ความตรงเชิงเนื้อหาพิจารณาจากดัชนีความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ ค่าอานาจจาแนก ความเที่ยง
การทาหน้าที่ต่างกันของข้อคาถามและวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง ผลการวิจัยพบว่า
1) องค์ประกอบโมเดลคุณลักษณะของครูยุคใหม่ มีจานวน 5 องค์ประกอบ 26 ตัวชี้วัด แบบวัดที่
พัฒนาขึ้นเป็นแบบวัดประเภทลิเคิร์ตสเกล 5 ระดับจานวนข้อคาถาม 100 ข้อ หลังจากตัดข้อคาถามที่เกิดการ
ทาหน้าที่ต่างกัน เหลือจานวนข้อคาถาม 89 ข้อ
2) ผลการตรวจความตรงเชิงเนื้อหาได้ค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์
อยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 ค่าอานาจจาแนก อยู่ระหว่าง 0.26 ถึง 0.72 ค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.97 หลังจาก
ตัดข้อคาถามที่เกิดการทาหน้าที่ต่างกัน จานวน 36 ข้อ พบว่ามีค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.96 ผลวิเคราะห์
องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง พบว่า โมเดลสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่าดัชนีวัดความกลมกลืน
ดังนี้ 
2 = 204.522 ,df =178, p-value=0.084, 
2 /df = 1.14, TLI = 0.998, CFI = 0.998, RMSEA =
0.012 และ SRMR =0.027 ภายหลังหลังจากตัดข้อคาถามที่เกิดการทาหน้าที่ต่างกันออก พบว่า โมเดล


สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์มีค่าดัชนีวัดความกลมกลืน ดังนี้ 
2 =187.108,df = 170, p-value=0.175,

2 /df =1.10, TLI = 0.999, CFI = 0.997, RMSEA = 0.010 และ SRMR =0.028

Article Details

Section
Research Article

References

1. เพชรรัตน์ สายนาพามีลาภ, อ้อมจิต แป้นศรี และสาราญ มีแจ้ง. (2557). การวิเคราะห์องค์ประกอบ
คุณลักษณะของครูคุณภาพในยุคปฏิรูปการศึกษาตามการรับรู้ของครูในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 20 (1): 61-71.
2. วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรีสฤษดิ์วงศ์.
วันเพ็ญ นันทะศรี. (2559). โมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณลักษณะความ
เป็นครูวิชาชีพในศตวรรษที่ 21. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม ; 6(3) : 96-105.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2550). ทฤษฎีการวัดแนวใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 3:กรุงเทพฯ.สานักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
. (2552). ทฤษฎีการวัดแบบดั้งเดิม.พิมพ์ครั้งที่ 7:กรุงเทพฯ.สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิลัน. (2554). การพัฒนาแบบวัดคุณลักษณะความเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตของนักเรียน
มัธยมศึกษาตอนปลาย. ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา
ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุเทพ ธรรมะตระกูล และอนุวัติ คูณแก้ว. (2555). การศึกษาคุณลักษณะของครูยุคใหม่. คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.
อุบล เลี้ยววาริณ. (2554). คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของความเป็นครูในศตวรรษที่ 21
ตามความหวังของผู้ประกอบอาชีพครู. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
Barnes and Wells. (2009). Differential Item Functional Analysis by Gender and Race
of the National Doctoral Program Survey. International Journal of Doctoral
Studies.4, 2009.78-96.
Clauser, B. E. (1993). Factors influencing the performance of the Mantel-Haenszel
Procedure in identifying differential item functioning. Dissertation Abstracts
International, 54, 493.
Devellis, R. F. (1991). Scale development: Theory and applications. California: Sage
Publication.
French, Finch & Vazquez. (2016). Differential Item Functioning on mathematics items using
multilevel SIBTEST. Psychological Test and Assessment Modeling, 58, 2016 (3), 471-
483.
Kline, P. (1999). The handbook of psychological testing. 2nd ed. London: Routledge.
Hair, J. F., Anderson, R. E., Tatham, R. L., and Black, W. C. (2006). Multivariate data
analysis. 5th Edition. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Narayanan P. and Swaminathan H. (1994). Performance of the Mantel-Haenszel and
Simultaneous Item Bias Procedures for Detecting Differential Item Functioning, 1994
(4),315-328.
Roussos, L. A. and Stout, W. F. (1996). Simulation studies of the effects of small
sample size and studied item parameters on SIBTEST and Mantel-Haenzel type
I error performance. Journal of Educational Measurement, 1996(33). 215–230.
Stricker LJ, Emmerich W. (1999). Possible determinants of differential item functioning:
Familiarity, interest, and emotional reaction. Journal of Educational Measurement .36
(4):347–366.