บทบาทครูสังคมศึกษากับการพัฒนาสมรรถนะในยุคดิจิทัล
คำสำคัญ:
บทบาทครู, ครูสังคม, การพัฒนาสมรรถนะ, ยุคดิจิทัลบทคัดย่อ
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามามีบทบาทสำคัญในการดำรงชีวิต ครูผู้สอนจึงจำเป็นต้องเปลี่ยนวิธีคิด วิธีการสอน พัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะที่เพียงพอในการดำเนินชีวิตในยุคที่ต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่าง ๆ อย่างรวดเร็วได้อย่างเท่าทันและเป็นสุข ครูสังคมศึกษามีบทบาทสำคัญในการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของนักเรียน โดยการเป็นแบบอย่างในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสนับสนุนโอกาสการเรียนรู้ รวมถึงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบโต้ตอบ การเรียนรู้ร่วมกัน และการเรียนรู้อย่างอิสระให้กับนักเรียน เพราะฉะนั้นสมรรถนะครูในยุคดิจิทัลนี้ มุ่งเน้นพัฒนาครูและอาจารย์ รวมถึงบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องบริบทการเรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนรวมในกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพื่อผู้เรียนเกิดทักษะที่จะเป็น เช่น ทักษะการคิด ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ และการใช้สังคมออนไลน์แบบสร้างสรรค์ อันจะช่วยให้ครูมีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะต่าง ๆ โดยบทความนี้ผู้เขียนมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ครูเกิดการเรียนรู้ดิจิทัล และแก้ไขปัญหาด้วยเครื่องมือดิจิทัล 2. เพื่อให้รู้เท่าทันสังคมในยุคดิจิทัลอย่างมีสติ ดังนั้นเป็นสิ่งที่จำเป็นและให้สอดคล้องกับบริบทความต้องการในสังคมยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป
Downloads
References
กณิชชา ศิริศักดิ์ และดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ. (2563). การวิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะดิจิทัล สำหรับครู, An Online Journal of Education, 15(2), 1-11.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายและจุดเน้นของกระทรวง ศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2464. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.
ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 (2562, 20 มีนาคม). ราชกิจานุเบกษา. เล่มที่ 136 ตอนพิเศษ 68 ง, หน้า 18-20.
จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2556). การบริหารองค์การและบุคลากรทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: วี.พริ้นท์.
จุฬารัตน์ บุษบงก์. (2566). สมรรถนะดิจิทัล: ทักษะเพื่อการเรียนรู้อย่างยั่งยืนตามเป้าหมายของการประชุมเอเปคด้านการศึกษา 2022. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, ปีที่ 18, (24), 70-85.
ธงชัย สมบูรณ์. (2565). แก่นความเป็นครูมืออาชีพ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธารารัตน์ มาลัยเถาว์. (2561). ความเป็นครูมืออาชีพ. พะเยา: โรงพิมพ์เจริญอักษร.
นภัสสร ปราบปัญจะ, บทที่ 3 การออกแบบการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล, 2017, 6 March retrieved 2024, 10 january from https://fernnapassorn088.wordpress.com/2017/03/06/บทที่-3-การออกแบบการเรีย/
นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2562). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนที่ 47 ก, น. 5 – 6.
บรรจง ลาวะลี. (2560). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคไร้พรมแดน. Academic Journal of Mahamakut Buddhist University Roi Et Campus, 6(2), 205-211.
พระมหาโยธิน มหาวีโร (มาศสุข). (2564). กลยุทธ์การสอนสังคมศึกษาในบริบทยุคเศรษฐกิจดิจิทัล, วารสารพุทธสังคมวิทยาปริทรรศน์, 6(3), 89-104.
พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560. (2560). ราชกิจานุเบกษา เล่ม 134 ตอน 30, ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2567. แหล่งที่มา: http://www.ratchakitcha.soc.go.th.
รัชนีวรรณ วนิชย์ถนอม. (2548). การปรับใช้สมรรถนะในการบริหารทรัพยากรมนุษย์. วารสารข้าราชการ, ปีที่ 50, (2), หน้า 10-24.
วิชัย วงษ์ใหญ่ และ มารุต พัฒผล. (2564). สมรรถนะดิจิทัล: Digital Competency. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2548). การปรับใช้สมรรถนะในการบริหารทรัพยากรมนุษย์.กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2562). “ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา,”วารสารทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐเพื่อการปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล. 1: 4 - 10.
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2562). กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2567. ที่มา: https://www.ksp.or.th/laws/
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2564). พลังครูไทยวิถีใหม่ฉลาดรู้เท่าทันดิจิทัล. หนังสือวันครู. 16 มกราคม 2564. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
แสงสุรีย์ ทองขาว และคณะ. (2566). บทบาทครูไทยกับเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการศึกษา. วารสารพุทธสังคมวิทยาปริทรรศน์, ปีที่ 8, (2), 130-144.
Agnes Kukulska-Hulme and John Traxler, 2013, “Design principles for mobile learning”, Rethinking Pedagogy for a Digital Age: Designing for 21st, Century Learning, Edition: 2nd, Publisher: Routledge Editors: Helen Beetham, Rhona Sharpe, pp. 244–257.
Beetham H. and Sharpe, R., 2013, สมรรถนะทางดิจิทัลและสารสนเทศ, ที่พัฒนาโดย มหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด บรุ๊ค ชื่อ สโคนัล เซเว่น พิลลาร์ (SCONUL’s Seven Pillars), หน้า 295.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความลิขสิทธิ์