ส่งเสริมความรักความสามัคคีปรองดองเพื่อความมั่นคงของสถาบันและการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ผู้แต่ง

  • ณัฐดนัย แก้วโพนงาม -

คำสำคัญ:

ความสามัคคี, สถาบัน, การปกครองในระบอบประชาธิปไตย, ความมั่นคง, พระมหากษัตริย์

บทคัดย่อ

งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษา1)ปัจจัยที่ส่งผลต่อการ ส่งเสริมความรักความสามัคคีเพื่อความมั่นคงของสถาบันและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข2)รูปแบบในการส่งเสริมความรักความสามัคคีของประชาชนในจังหวัดชัยภูมิ และ    3)ปัญหาและอุปสรรคในการส่งเสริมความรักความสามัคคีของประชาชนในจังหวัดชัยภูมิ และหาแนวทางแก้ไข โดยการสัมภาษณ์จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 100 คน โดยการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง

ผลการวิจัยพบว่า

1.ปัจจัยที่ส่งผลต่อการส่งเสริมความรักความสามัคคีเพื่อความมั่นคงของสถาบันและการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ได้แก่ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ประสบการณ์ตรงในอดีตของแต่ละบุคคล ความสามัคคีใน องค์กรและในหน่วยงาน ความร่วมมือร่วมแรงใจกัน ค่านิยม การสื่อสารในองค์กร ทัศนคติ แรงจูงใจ ภาวะผู้นำ การมองโลกในแง่ดี การเสียสละ สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ ความเป็นอิสระในการแสดงความคิดเห็น การเสริมสร้างความเข้มแข็งในการปกครองระบอบประชาธิปไตย และการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร

2.รูปแบบในการส่งเสริมความรักความสามัคคีของประชาชนในจังหวัดชัยภูมิ ได้แก่การประชุมระดมความ คิดเห็น การอบรมให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง กำหนดมาตรการบังคับใช้ เช่น กฎหมาย การพูดคุย การดำเนิน โครงการหรือกิจกรรมต่างๆในชุมชนร่วมกัน การให้ความเป็นอิสระแก่ชุมชนท้องถิ่นในการดำเนินงานด้านต่างๆ มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเชิงนโยบายที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของตนเองและชุมชน และการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล

3.ปัญหาและอุปสรรคในการส่งเสริมความรักความสามัคคีของประชาชนในจังหวัดชัยภูมิ และแนวทาง แก้ไข ได้แก่ การขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและขาดทัศนคติที่ดี แนวทางแก้ไขให้ความรู้ความเข้าใจ การเล่นพรรคเล่นพวกและยึดติดกับระบบอุปถัมภ์ แนวทางแก้ไขการดำเนินกิจกรรมหรือโครงการร่วมกัน การใช้ ระบบคุณธรรมแทนระบบอุปถัมภ์

Downloads

Download data is not yet available.

References

จินดาวรรณ กาญจนภานุพันธ์.(2562).กระบวนการสร้างความสามัคคีเชิงพุทธในหมู่บ้านเชตวัน (หนองหมู)

อำเภอเมืองจังหวัดลำพูน.วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 (กันยายน 2562).

ชัยอนันต์ สมุทวณิช.(2539).รัฐ.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชูชัย ศุภวงศ์ และยุวดี คาดการณ์ไกล.(2540).ประชาสังคม:ทรรศนะนักคิดในสังคมไทย.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์

มติชน.

ชนพณ สุขแจ่ม พระราชวชิรเมธีและวินัย ทองมั่น.(2565).แนวทางการสร้างความสามัคคีของบุคลากรใน

สถานศึกษาตามหลักสาราณียธรรม 6ของผู้บริหารสถานศึกษา สหวิทยาเขตอัจฉราลัย สำนักงาน

เขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาเขต 42 จังหวัดนครสวรรค์.วารสารวิจยวิชาการ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2

(มีนาคม-เมษายน 2565).

ฐิติพร วรฤทธิ์, กานต์มณี การินทร์และภัคณิษา อภิศุภกรกุล.(2564).ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามัคคีของ

ชุมชน กรณีศึกษาชุมชน ในตำบลสวายจีกอำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์.วารสาร มจร สังคมศาสตร์

ปริทรรศน์Journal of MCU Social Science Review.ปีที่11 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน- ธันวาคม

Vol.11 No.6 November-December 2022.

ณรงค์ โพธิ์พฤกษานันท์.(2555).สังคมกับเศรษฐกิจ.ปทุมธานี:พูลสวัสดิ์พับลิชชิ่ง.

ณัฐดนัย แก้วโพนงาม.(2560).เศรษฐศาสตร์การเมืองในบริบทสังคมไทยภายใต้สภาวะความขัดแย้งใน

จังหวัดชัยภูมิ.ทุน วช.ปีงบประมาณ 2560.

ณัฐดนัย แก้วโพนงาม.(2565).ประวัติศาสตร์ จังหวัดชัยภูมิ.งานวิจัยทุนอุดหนุนจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ชัยภูมิ ปีงบประมาณ 2563.

ทิพวรรณ พฤฒากรณ.(2562).การเสริมสร้างความสามัคคีในสังคมไทย.วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และ

สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีปีที่ 2 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562.

ธีรยุทธ บุญมี.(2536).สังคมเข้มแข็ง.กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมิ่งมิตร.

นิธิ เนื่องจำนงค์.(2562).แนวคิดประชาสังคม.หน่วยชุดวิชาความคิดทางการเมืองและสังคม สาขาวิชา

รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ประเวศ วะสี.(2536).ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท.กรุงเทพฯ:อัมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊ฟ.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560.

พระวิรัตน์ ปภสฺสโร (ขาวสะอาด).(2562).การส่งเสริมหลักสังฆสามัคคีในพระพุทธศาสนา.วิทยานิพนธ์พุทธ

ศาสตรมหาบัณฑิต(พระพุทธศาสนา).กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ลิขิต ธีรเวคิน.(2550).วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วันชนะ กลั่นพรมสุวรรณ.(2560).การสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับการสร้างความสามัคคีปรองดองเพื่อ

การปฏิรูปประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน.กรุงเทพฯ:วิทยาลัยการทัพบก.

เอนก เหล่าธรรมทัศน์.(2539).มองเศรษฐกิจการเมืองไทยผ่านการเคลื่อนไหวของสมาคมธุรกิจ.กรุงเทพฯ:

คบไฟ.

อรอนงค์ พุกกะคุปต์,ชัยโรจน์ เจริญชัยกรณ์และนิภาพร พุทธพงษ์.(2558).การจัดการความขัดแย้งของสังคม

และการเมืองไทย ช่วง 2551 -2555.วารสารรังสิตบัณฑิตศึกษาในกลุ่มธุรกิจและสังคมศาสตร์ ปีที่ 1

ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2558.

เอี๊ยะฮ์ซาน หีมมะ,จักรวาล สุขไมตรีและศิโรตม์ ภาคสุวรรณ.(2564).บทบาทของทหารกองบิน 4 กับการ

เลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560.วารสารการบริหารนิติบุคคลและ

นวัตกรรมท้องถิ่นปีที่7 ฉบับที่7 (กรกฎาคม 2564).

อภินันท์ จันตะนี.(2561).พุทธรัฐศาสตร์สำหรับการส่งเสริมความมั่นคงแห่งพลเมือง.วารสารวิชาการ

มหาวิทยาลัยปทุมธานี ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม2561).

http://huangziyai.blogspot.com/p/blog-page.

http://huangziyai.blogspot.com/p/blog-page_7.html.

https://www.parliament.go.th/ewtcommittee/ewt/draftconstitution2/ewt_dl_link.php?nid=10 38& filename=index.

https://docs.google.com/document/d/1iVYLGRbT1HnEExmhu8CGPo82b3w7RKi9SjWVcaDOu0

/edit. https://ibc.ac.th/thai/node/4206. https://www.ldi.or.th/2016/08/24.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-07-18