การบริหารจัดการโบราณสถานในวัดเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • พระมหามงคลกานต์ ฐิตธมฺโม
  • พระวรพนธ์ วรธมฺโม ตัณฑ์พูนเกียรติ
  • พระสุขีศม สีลเตชปุตฺติโย จิรมหาสุวรรณ

คำสำคัญ:

การบริหารจัดการ, โบราณสถาน, การพัฒนาที่ยั่งยืน

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้เพื่อให้เกิดความเข้าใจในการบริหารวัดของเจ้าอาวาสที่มีโบราณสถานในการบริหารจัดการโบราณสถานในวัดเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเน้นความสำคัญของวัดที่มีโบราณสถานเพื่อสร้างความยั่งยืนให้เกิดขึ้น

           ดังนั้น หน้าที่ของเจ้าอาวาสในการบริหารวัด จึงต้องการการมีส่วนร่วมและมีการพัฒนาที่ยั่งยืนในรูปแบบของการอนุรักษ์ในเชิงวัฒนธรรมและอนุรักษ์โบราณสถานอันเป็นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของสถานที่นั้น ๆ จึงมีความสำคัญเป็นอย่างมากในการที่จะเข้าใจ และให้การร่วมมือของเจ้าของถิ่นอันมีประชาชนและองค์กรท้องถิ่น โดยมีเจ้าอาวาสเป็นผู้นำและสร้างความเข้าใจให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของวัดให้เกิดขึ้นต่อไป

Downloads

Download data is not yet available.

References

กรมการศาสนา, คู่มือการบริหารและการจัดการวัดฉบับย่อ, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา,

มปป.

กรมการศาสนา, “คู่มือพระสังฆาธิการ ว่าด้วยเรื่องการคณะสงฆ์และการพระศาสนา”,

กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา,๒๕๔๐.

กรมการศาสนา, วัดพัฒนา ๔๖, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๔๖.

กรมการศาสนา, คู่มือพระสังฆาธิการว่าด้วยพระราชบัญญัติ กฎ ระเบียบ และคำสั่งของคณะสงฆ์,

กรุงเทพมหานคร : กองแผนงาน กรมการศาสนา, ๒๕๔๒.

กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, คู่มือการบริหารศึกษาคณะสงฆ์, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์

กรมศาสนา, ๒๕๓๘.

ประเวศ วะสี, “พระสงฆ์กับการรู้เท่าทันสังคม” ในหลักการบริหารจัดการวัดในยุคโลกาภิวัตน์,

กรุงเทพมหานคร : สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ, ๒๕๓๙.

พระเทพปริยัติสุธี วรวิทย์ คงฺคปญฺโญ. การคณะสงฆ์และการศาสนา, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหา

จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๕

พิสิฐ เจริญวงษ์, การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ, กรุงเทพมหานคร : ม.ป.ท. ๒๕๕๐.

พระศรีปริยัติโมลี (พระมหาสมชัย กุสลจิตฺโต), การเมืองมิใช่เรื่องของสงฆ์, กรุงเทพมหานคร : เรือน

แก้วการพิมพ์, ๒๕๔๓.

พระวิสุทธิภัทรธาดา (ประสิทธิ์ พฺรหฺมรํสี), พระราชบัญญัติคณะสงฆ์และกฎมหาเถรสมาคม,มปป.

พระครูวิสุทธานันทคุณ (สุรศักดิ์ วิสุทฺธาจาโร) การบริหารจัดการวัดเพื่อความมั่นคงแห่ง

พระพุทธศาสนา. หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๕๗.

พระมหาบุญพิเชษฐ์ จันทร์เมืองเส. การจัดการการท่องเที่ยวในพระอารามหลวงชั้นเอกในเกาะ

รัตนโกสินทร์. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของ

การศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชา การวางแผนและการ

จัดการการท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม. ๒๕๕๓.

พระครูใบฎีกาอภิชาติ ธมฺมสุทฺโธ (พรสุทธิชัยพงศ์), “ประสิทธิภาพการบริหารงานของเจ้าอาวาสใน

จังหวัดนนทบุรี”, วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการเชิง

พุทธ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓.

พระครูสิริอาภากร อำภา, “บทบาทเจ้าอาวาสด้านการปกครองและด้านการเผยแผ่ศาสนธรรม:

กรณีศึกษาเจ้าอาวาสในเขตอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่”, วิทยานิพนธ์

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๕๐.

พระมหาทะนงชัย บูรณพิสุทธิ์, บทบาทของวัดในเขตชุมชนเมืองในเขตบางรักกรุงเทพมหานคร,

วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, ศิลปศาสตร์ (พัฒนาชนบทศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๕.

ทวี ขจรกุล, “บทบาทเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมือง จังหวัด

หนองคาย”, วิทยานิพนธ์คุรุศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฎ

มหาสารคาม, ๒๕๔๗.

นางโสมสุดา ลียะวณิช อธิบดีกรมศิลปากร เปิดเผยข้อมูลในหนังสือพิมพ์ข่าวสด , ๒ พ.ย. ๒๕๕๓,

หน้า ๓๑.สืบค้นจาก www.lockfinger.com, เมื่อวันที่ ๑๖ มิ.ย. ๒๕๕๔.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-27