บุคลิกภาพห้าองค์ประกอบและการสืบต่อวงจรความรุนแรงในครอบครัวของวัยรุ่นหญิง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายความสัมพันธ์เชิงคุณภาพระหว่างบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบและการสืบต่อวงจรความรุนแรงในครอบครัว และเพื่ออธิบายความสัมพันธ์เชิงคุณภาพของการมีประสบการณ์การความรุนแรงในครอบครัวและการสืบต่อวงจรความรุนแรง ในครอบครัว การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาวัยรุ่นหญิงที่มีอายุระหว่าง 18 – 25 ปี ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 10 ราย ที่มีประสบการณ์การเป็นพยานหรือถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว และต่อมาเมื่อเติบโตขึ้นได้เป็นผู้สืบต่อความรุนแรงในครอบครัว ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะบุคลิกภาพของผู้สืบต่อวงจรความรุนแรงในครอบครัวที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ บุคลิกภาพแบบหวั่นไหว อย่างไรก็ตาม ในการศึกษาพบว่า ผู้มีบุคลิกภาพแบบมีจิตสำนึกและแบบแสดงตัว มีผลการประเมินลักษณะบุคลิกภาพแบบหวั่นไหว อยู่ในอันดับรองลงมา โดยมีค่าคะแนนไม่ต่างกันมากนัก และพบผลการประเมินบุคลิกภาพที่น่าสนใจ คือ บุคลิกภาพแบบประนีประนอมในระดับลักษณะบุคลิกภาพต่ำ เนื่องจากมีผลการประเมินลักษณะบุคลิกภาพจำนวนเท่ากับผู้มีระดับลักษณะบุคลิกภาพแบบหวั่นไหวในระดับสูงที่สุด ในงานการศึกษาชิ้นนี้ พบว่า ผู้เข้าร่วมการวิจัยได้รับประสบการณ์ความรุนแรงในครอบครัวในช่วงปฐมวัย – วัยเด็ก และพบความคล้ายคลึงกันระหว่างประสบการณ์ความรุนแรง ในครอบครัวเดิม และการสืบต่อวงจรความรุนแรงในครอบครัว ในด้านสาเหตุของการกระทำความรุนแรง และด้านลักษณะความรุนแรง
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยมหิดล อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาต CC Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) โดยต้องแสดงที่มา/การอ้างอิงจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลงเนื้อหา
- ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ (ซึ่งหมายรวมถึง บรรณาธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิในกองบรรณาธิการ หรือ บรรณาธิการรับเชิญ) แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ
- กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการตัดทอน/ปรับแก้ถ้อยคำบางประการเพื่อความเหมาะสม
References
เกษตรชัย และหีม และเก็ตถวา บุญปราการ. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลังส่วนบุคคลด้านการอบรมเลี้ยงดู และประสบการณ์ความรุนแรง กับพฤติกรรม ความรุนแรงในคู่สมรสไทยมุสลิมจังหวัดปัตตานี. วารสารปาริชาต, 30(1), 161-184.
จำเนียร จวงตระกูล และ นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ์. (2562). การวิเคราะห์เนื้อหาในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพ. PAAT Journal, 2(2), 1-14.
ฉัตณฑี ศิลากุล. (2549). ความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ความรุนแรงในครอบครัวกับการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชน: ศึกษาเฉพาะกรณีความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย (สารนิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตร์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธีรวุฒิ นิลเพ็ชร และกัญญ์ฐิตา ศรีภา. (2562). สภาพการณ์ความรุนแรงในครอบครัวและการ พัฒนาบทบาทหน้าที่ของตำรวจในการรับมือปัญหาความรุนแรง: ศึกษาเฉพาะกรณี กองบังคับการตำรวจนครบาล 9. วารสารพยาบาลตำรวจ, 11(2), 326-338.
นญา พราหมหันต์. (2560). ทายาทความรุนแรง: แนวคิดการประกอบสร้างทางสังคมต่อการจัดการประสบการณ์ความรุนแรง (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปพิชญา สุนทรพิทักษ์. (2562). ประสบการณ์ของสตรีที่ผ่านพ้นปัญหาความรุนแรงในครอบครัว: กรณีศึกษามูลนิธิหญิงชายก้าวไกล. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปิยะธิดา ขจรชัยกุล. (2565). ความรุนแรงในครอบครัว ช่วงสถานการณ์โควิค – 19 (ตอนที่ 1). https://phfh.ph.mahidol.ac.th/article/ความรุนแรงในครอบครัว%20ตอน%201.pdf
พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิพงษ์. (2529). จิตวิทยาสังคมของจอร์จ เฮอร์เบิร์ต มีด. โครงการวิจัยและพัฒนาทางวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เพ็ญประภา สุธรรมา. (2556). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมความรุนแรงต่อคู่รักของนักเรียนชาย ในสถานศึกษาสายอาชีพ เขตกรุงเทพมหานคร (ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล.
เฟื่องนภา คงเป็นสุข. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้ความรุนแรงของวัยรุ่นชายต่อคู่รัก: ศึกษาเฉพาะศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนเขตบางขุนเทียน เขตราษฎร์บูรณะ และเขตจอมทอง (ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล.
วรางคณา ธรรมะ. (2544). ปัจจัยที่มีผลต่อความรุนแรงในครอบครัวของเด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดนครราชสีมา (ปริญญาสังคมศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล.
ศรัญญา ศรีโยธิน. (2557). การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการกระทำความรุนแรงและการถูกกระทำความรุนแรงในคู่รัก (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุกัญญา สดศรี. (2561). ปัญหาการใช้ความรุนแรงของครอบครัวในสังคมไทย. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์มจร, 6(sp1), 600–609.
สุวัฒน์ ศรีสรฉัตร์. (2544). ความรุนแรงในครอบครัว: มิติทางสังคมและวัฒนธรรม และการแทรกแซงทางสังคม ในชุมชนไทยแห่งหนึ่ง (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล.
โสภา ชูพิกุลชัย ชปีลมันน์. (2559). Domestic Violence: ความรุนแรงในครอบครัว. ใน สารานุกรมจิตวิทยาฉบับสำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (เล่มที่2, หน้า 169-175). สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.
หัทยา ขอสันติวิวัฒน์ (2564). ความรุนแรงในการอบรมเลี้ยงดูบุตรของบิดามารดา (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
อุสา สุทธิสาคร. (2559). จิตวิทยาวัยรุ่น. สาขาการศึกษาทั่วไป คณะมนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
An, S., Kim, I., Joon Choi, Y., Platt, M., & Thomsen, D. (2017). The effectiveness of intervention for adolescents exposed to domestic violence. Children and Youth Services Review, 79, 132–138. https://doi.org/10.1016/j.childyouth.2017.05.031
Azadi S., & Nahidpoor F. (2018). Intergenerational transmission of violence from the family-of-origin to the current family. Iran Journal of Nursing, 31(112), 77-85.
Bandura, A. (1977). Social learning theory. Prentice Hall.
Baúto, R., Carreiro, A., Pereira, M., Guarda, R., & Almeida, I. (2021). Personality and aggressive behavior: The relation between the five-factor and aggression models in a domestic violence suspects sample. Medical Sciences Forum, 5, 18. https://doi.org/10.3390/msf2021005018
Berckmoes, L. H., de Jong, J. T. V. M., & Reis, R. (2017). Intergenerational transmission of violence and resilience in conflict-affected Burundi: A qualitative study of why some children thrive despite duress. Global Mental Health, 4, Article e26. https://doi.org/10.1017/gmh.2017.23
Bowlby, J. (1973). Attachment and loss. Vol. 2: Separation: Anxiety and anger. Basic Books.
Carroll J. C. (1977). The intergenerational transmission of family violence: The long-term effects of aggressive behavior. Aggressive Behavior, 3, 289-299.
Contreras, L., & Lozano, M. del C. C. (2016). Child-to-parent violence: The role of exposure to violence and its relationship to social-cognitive processing. European Journal of Psychology Applied to Legal Context, 8(2), 43–50. https://doi.org/10.1016/j.ejpal.2016.03.003
Cui, M., Durtschi, J. A., Donnellan, M. B., Lorenz, F. O., & Conger, R. D. (2010). Intergenerational transmission of relationship aggression: A prospective longitudinal study. Journal of Family Psychology, 24(6), 688–697. https://doi.org/10.1037/a0021675
Ehrensaft, M. K., Cohen, P., Brown, J., Smailes, E., Chen, H. & Johnson, J. G. (2003). Intergenerational transmission of partner violence: A 20-year prospective study. J Consult Clin Psychol, 71(4), 741-753.
Eremie, M. D. (2020). Personality factors as correlates of domestic violence among married couples in rivers state Nigeria: Implication for counselling. International Journal of Innovative Psychology & Social Development, 8(1), 17-27.
Fasasi, M. I., & Alabi, M. A. (2020). Personality type and experience of domestic violence among married women in southwest Nigeria. Current Research Journal of Social Sciences and Humanities, 3(2), 255-261. http://dx.doi.org/10.12944/CRJSSH.3.2.12
Freud, S., & Strachey, J. (1989). The ego and the id. Norton.
Genç, E., Su, Y., & Durtshi, J. (2021). Moderating factors associated with interrupting the transmission of domestic violence among adolescents. Journal of Interpersonal Violence, 36(9–10), NP5427–NP5446. https://doi.org/10.1177/0886260518801018
Hines, D. A., & Saudino, K. J. (2008). Personality and intimate partner aggression in dating relationships: The role of the ‘Big Five’. Aggressive Behavior, 34, 593–604.
Jiang, X., Li, X., Dong, X., & Wang, L. (2022). How the Big Five personality traits related to aggression from perspectives of the benign and malicious envy. BMC Psychology, 10(1), 203. https://doi.org/10.1186/s40359-022-00906-5
Malley-Morrison, K. (Ed.). (2004). International perspectives on family violence and abuse:
A cognitive ecological approach. Lawrence Erlbaum Associates Publishers.
Pagani, L. S., Tremblay, R. E., Nagin, D., Zoccolillo, M., Vitaro, F., & McDuff, P. (2004). Risk factor models for adolescent verbal and physical aggression toward mothers. International Journal of Behavioral Development, 28(6), 528–537. https://doi.org/10.1080/01650250444000243
Rivera, P. M., & Fincham, F. (2015). Forgiveness as a mediator of the intergenerational transmission of violence. Journal of Interpersonal Violence, 30(6), 895–910. https://doi.org/10.1177/0886260514539765
Shaanta, M. N., & Navine. M. (2015). Intergenerational transmission of marital violence: Results from a nationally representative sample of men. Journal of Interpersonal Violence, 33(2), 211–227. https://doi.org/10.1177/0886260515604413
Stith, S. M., Rosen, K. H., Middleton, K. A., Busch, A. L., Lundeberg, K., & Carlton, R. P. (2000). The intergenerational transmission of spouse abuse: A meta-analysis. Journal of Marriage and the Family, 62(3), 640–654. https://doi.org/10.1111/j.1741-3737.2000.00640.x
Tremblay, R. E., Nagin, D. S., Séguin, J. R., Zoccolillo, M., Zelazo, P. D., Boivin, M., Pérusse, D., & Japel, C. (2005). Physical aggression during early childhood: Trajectories and predictors. Canadian Child and Adolescent Psychiatry Review, 14(1), 3–9.
Tracy, M., Salo, M., & Appleton, A. A. (2018). The mitigating effects of maternal social support and paternal involvement on the intergenerational transmission of violence. Child Abuse & Neglect, 78, 46–59. https://doi.org/10.1016/j.chiabu.2017.09.023
Ulloa, E. C., Hammett, J. F., O’Neal, D. N., Lydston, E. E., & Aramburo, L. F. L. (2016). The Big Five personality traits and intimate partner violence: Findings from a large, nationally representative sample. Violence and Victims, 31(6), 1100–1115. https://doi.org/10.1891/0886-6708.VV-D-15-00055
Widom, C. S., Czaja, S. J., & DuMont, K. A. (2015). Intergenerational transmission of child abuse and neglect: Real or detection bias? Science (New York, N.Y.), 347(6229), 1480–1485. https://doi.org/10.1126/science.1259917
Yu, J. J., Lim, G. O., & Gamble, W. C. (2017). Big Five personality traits and physical aggression between siblings in South Korea: An actor-partner interdependence analysis. Journal of Family Violence, 32(2), 257–267. https://doi.org/10.1007/s10896-016-9825-z