ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี

Main Article Content

ฐิตินันท์ สิริวรพันธ์
ณัฐกรณ์ สุขแก้ว
ธานัท ฐิติภัทรเดชา
ธาริต สนิทนวน
นิภา นิรุตติกุล

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม การตระหนักในประเด็นสิ่งแวดล้อม ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมตนเอง และการสื่อสารการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ของผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของระดับการรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม การตระหนักในประเด็นสิ่งแวดล้อม ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมตนเอง และการสื่อสารการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ในการทำนายความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม และ 3) เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะต่อภาคธุรกิจ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม ที่สามารถตอบสนองต่อทัศนคติและความต้องการของผู้บริโภค การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้การสำรวจผ่านแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคในจังหวัดชลบุรี จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น ผลการวิจัยพบว่า ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม การตระหนักในประเด็นสิ่งแวดล้อม ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมตนเอง และการสื่อสารการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ สามารถทำนายความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาที่ได้นำไปสู่ข้อเสนอแนะ เช่น องค์กรธุรกิจควรให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างครบถ้วนแก่ผู้บรโภค พัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมให้ตรงกับความต้องการใหม่ ๆ ของผู้บริโภค รวมถึงสื่อสารประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมโดยใช้ช่องทางการสื่อสารผ่านสื่อออนไลน์มากยิ่งขึ้น

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จีรพัฒน์ พิชัยกมลศิลป์. (2563). การตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์และความไว้วางใจที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อรองเท้าผ่านช่องทางการถ่ายทอดสดเฟซบุ๊คไลฟ์ของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ญาณิศา เล็กคง. (2564). อิทธิพลของการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ต่อการตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์บำรุงผิวหน้า. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธนากร โพชากรณ์ และยุวรินธร ไชยโชติช่วง. (2565). อิทธิพลของการสื่อสารแบบปากต่อปากอิเล็กทรอนิกส์ทัศนคติ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และการรับรู้ความสามารถในการควบคุม พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อความตั้งใจเดินทางไปท่องเที่ยวเกาะสมุยจังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 9(2), 119-149.

นิภา นิรุตติกุล. (2558). การพยากรณ์การขาย (พิมพ์ครั้งที่ 7). สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

นันทพัทธ์ โนนศรีเมือง และ สดชื่น อุตอามาตย์. (2565). ผลกระทบของการสื่อสารการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อความตั้งใจซื้อสินค้าเพื่อสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y). วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 14(3), 36-49. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/mbs/article/view/251986/173211

ปารมี พัฒนดุล และ วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภคอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. วารสาร Veridian E Journal ฯ สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 9(2), 857-871. https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/74460/60023

ภาณุมาศ แสนหล้า และ วุฒิชาติ สุนทรสมัย. (2563). การทำนายความตั้งใจซื้อผักอินทรีย์ของผู้บริโภคในเขตจังหวัดชลบุรี ตามกรอบแนวคิดทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน. วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 9(2), 104-127. https://so03.tcithaijo.org/index.php/jms_ubu/article/view/227948/167249

ศุภกัญญา จันทรุกขา และ ทิพย์รัตน์ เลาหวิเชียร. (2566). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าเพื่อสิ่งแวดล้อมกลุ่มเครื่องสำอางและบำรุงผิว. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 18(2), 77-92. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/JSSRA/article/view/260481/178101

สหประชาชาติ ประเทศไทย. (2566ก). การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. https://kasets.art/HoQIE5

สหประชาชาติ ประเทศไทย. (2566ข). สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. https://thailand.un.org/th/174652-สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

อินทิรา ไชยณรงค์. (2561). ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนกับความตั้งใจออกกำลังกายด้วยการเดินในผู้ป่วยภายหลังเกิดโรคหลอดเลือดสมอง. วารสารพยาบาลทหารบก, 19(1), 47-55. https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/121907/92867

อาภา เอกวานิช และ บุหงา ชัยสุวรรณ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม. วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช, 32(1), 125-140. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/stouj/article/view/206861/143780

เอกลักษณ์ ณัถฤทธิ์ และ พรทิพย์ พันธุ์ยุรา. (2564). แผนสิ่งแวดล้อมชุมชนเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมเขตพื้นที่พัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ พื้นที่เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง, 10(1), 74-91. https://buuir.buu.ac.th/bitstream/1234567890/4655/1/pap10n1p74-91.pdf

Ajzen, I. (1991). The theory of planned behavior. Organizational Behavior and Human Decision Processes, 50(2), 179–211. https://doi.org/10.1016/0749-5978(91)90020-T

Aziz, N. A. B. A., Aziz, N. N. B. A., Aris, Y. B. W., & Aziz, N. A. B. A. (2015). Factors influencing the paddy farmers’ intention to participate in agriculture Takaful. Procedia Economics and Finance, 31, 237–242. https://doi.org/10.1016/S2212-5671(15)01225-3

Best, J. W., & Kahn, J. V. (2006). Research in education (10th ed.). Pearson.

Bui, T. Q., Nguyen, N. T., Nguyen, K. K., & Tran, T. T. (2021). Antecedents affecting purchase intention of green skincare products: A case study in Vietnam. The Journal of Asian Finance, Economics and Business, 8(3), 1295-1302.

Choi, E. K., Fowler, D., Goh, B., & Yuan, J. (2016). Social media marketing: Applying the uses and gratifications theory in the hotel industry. Journal of Hospitality Marketing & Management, 25(7), 771-796.

Cochran, W. G. (1997). Sampling techniques. John Wiley & Sons.

Coddington, W. (1993). Environmental marketing: Positive strategies for reaching the green consumer. McGraw-Hill.

Correia, E., Sousa, S., Viseu, C., & Larguinho, M. (2023). Analyzing the influence of green marketing communication in consumers’ green purchase behavior. International Journal of Environmental Research and Public Health, 20(2), Article 2. https://doi.org/10.3390/ijerph20021356

Dangelico, R. M., & Pontrandolfo, P. (2010). From green product definitions and classifications to the Green Option Matrix. Journal of Cleaner Production, 18(16–17), 1608–1628. https://doi.org/10.1016/j.jclepro.2010.07.007

Kim, J. H. (2019). Multicollinearity and misleading statistical results. Korean Journal of Anesthesiology, 72(6), 558–569. https://doi.org/10.4097/kja.19087

Krause, D. (1993). Environmental consciousness: An empirical study. Environment and Behavior, 25(1), 126-142.

Kumar, A., Prakash, G., & Kumar, G. (2021). Does environmentally responsible purchase intention matter for consumers? A predictive sustainable model developed through an empirical study. Journal of Retailing and Consumer Services, 58, 102270. https://doi.org/10.1016/j.jretconser.2020.102270

Lai, C. K. M., & Cheng, E. W. L. (2016). Green purchase behavior of undergraduate students in Hong Kong. The Social Science Journal, 53(1), 67–76. https://doi.org/10.1016/j.soscij.2015.11.003

Laroche, M., Bergeron, J., & Barbaro-Forleo, G. (2001). Targeting consumers who are willing to pay more for environmentally friendly products. Journal of Consumer Marketing, 18(6), 503-520.

Marcon, A., Ribeiro, J. L. D., Dangelico, R. M., de Medeiros, J. F., & Marcon, É. (2022). Exploring green product attributes and their effect on consumer behavior: A systematic review. Sustainable Production and Consumption, 32, 76–91. https://doi.org/10.1016/j.spc.2022.04.012

Mishal, A., Dubey, R., Gupta, O. K., & Luo, Z. (2017). Dynamics of environmental consciousness and green purchase behavior: An empirical study. International Journal of Climate Change Strategies and Management, 9(5), 682–706. https://doi.org/10.1108/IJCCSM-11-2016-0168

Mostafa, M. M. (2007). A hierarchical analysis of the green consciousness of the Egyptian consumer. Psychology & Marketing, 24(5), 445-473.

Nadanyiova, M., Gajanova, L., & Majerova, J. (2020). Green marketing as a part of the socially responsible brand’s communication from the aspect of generational stratification. Sustainability, 12(17), 7118. https://doi.org/10.3390/su12177118

Paul, J., Modi, A., & Patel, J. (2016). Predicting green product consumption using theory of planned behavior and reasoned action. Journal of retailing and consumer services, 29, 123-134.

SDG Move Team. (2023). ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ SDGs. https://www.sdgmove.com/intro-to-sdgs/

Sharma, A. P. (2021). Consumers’ purchase behavior and green marketing: A synthesis, review and agenda. International Journal of Consumer Studies, 45(6), 1217–1238. https://doi.org/10.1111/ijcs.12722

Tuten, T. L., & Solomon, M. R. (2017). Social media marketing (3rd ed.). SAGE Pub.

Wang, S., Abbas, J., Sial, M. S., Álvarez-Otero, S., & Cioca, L.-I. (2022). Achieving green innovation and sustainable development goals through green knowledge management: Moderating role of organizational green culture. Journal of Innovation & Knowledge, 7(4), 100272. https://doi.org/10.1016/j.jik.2022.100272

Wong, C. Y., Wong, C. W. Y., & Boon-itt, S. (2020). Effects of green supply chain integration and green innovation on environmental and cost performance. International Journal of Production Research, 58(15), 4589–4609. https://doi.org/10.1080/00207543.2020.1756510

Yadav, M., & Rahman, Z. (2017). Measuring consumer perception of social media marketing activities in e-commerce industry: Scale development & validation. Telematics and Informatics, 34(7), 1294–1307. https://doi.org/10.1016/j.tele.2017.06.001

Yaghoubi Farani, A., Mohammadi, Y., Ghahremani, F., & Ataei, P. (2021). How can Iranian farmers’ attitudes toward environmental conservation be influenced? Global Ecology and Conservation, 31, e01870. https://doi.org/10.1016/j.gecco.2021.e01870

Yeon Kim, H., & Chung, J. (2011). Consumer purchase intention for organic personal care products. Journal of Consumer Marketing, 28(1), 40–47. https://doi.org/10.1108/07363761111101930