การจัดการความเสี่ยงของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่: ความสำเร็จของธุรกิจเกิดใหม่ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้ผู้ประกอบการธุรกิจเกิดใหม่ เห็นความสำคัญในการจัดการความเสี่ยงของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ซึ่งมีความสำคัญมากในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า ผู้ประกอบการธุรกิจเกิดใหม่ประสบความล้มเหลวประมาณ ร้อยละ 90 และยังพบว่าผู้ประกอบการในประเทศไทยขาดความสามารถในการสร้างนวัตกรรม จึงมีความจำเป็นต้องเร่งพัฒนาความสามารถในการสร้างนวัตกรรม เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของธุรกิจเกิดใหม่ อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่อย่างต่อเนื่อง ก็ยังประสบความล้มเหลว เนื่องจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่มีความเสี่ยงสำคัญประกอบด้วย 4 ด้าน คือความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน ความเสี่ยงด้านการตลาด และความเสี่ยงด้านการเงิน
นอกจากนี้ บทความวิชาการนี้ได้นำเสนอกรอบแนวคิดการจัดการความเสี่ยงของ COSO - ERM 2017 เพื่อช่วยให้การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ประสบความสำเร็จ ตลอดจน เสนอกรอบแนวคิดสำหรับงานวิจัยในอนาคต เพื่อศึกษาเชิงลึกเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้กรอบแนวคิดการจัดการความเสี่ยงของ COSO - ERM 2017 เพื่อสร้างความยั่งยืนของธุรกิจเกิดใหม่ ในประเทศไทย
Article Details
- วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยมหิดล อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาต CC Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) โดยต้องแสดงที่มา/การอ้างอิงจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลงเนื้อหา
- ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ (ซึ่งหมายรวมถึง บรรณาธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิในกองบรรณาธิการ หรือ บรรณาธิการรับเชิญ) แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ
- กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการตัดทอน/ปรับแก้ถ้อยคำบางประการเพื่อความเหมาะสม
References
Clayton, E. (2018). Updated COSO Enterprise Risk Management: Integrating with Strategy and Performance. Retrieved December 10, 2019. From http://www.thai- iod.com/imgUpload/file/Library/Risk%20Oversight/Updated%20COSO%20Enterprise%20Risk%20Management-%20Integrating%20with%20Strategy%20and%20Performance%20-%20IOD%20Boardroom%20Vol_55%20Issue%206_2017.pdf
Mansor, N., Yahaya, S. N., & Okazaki, K. (2016) Risk Factors Affecting New Product Development (NPD) Performance in Small Medium Enterprises (SMES). Retrieved December 10, 2019. From https://www.arpapress.com/Volumes/Vol27Issue1/IJRRAS_27_1_03.pdf
Mason, M. K. (2019). Worldwide Business Start-Ups. Retrieved December 10, 2019. from http://www.moyak.com/papers/business-startups-entrepreneurs.html
Molina-Castillo, F. J., Jimenez-Jimenez, D., & Munuera-Aleman, J. L. (2011). Product competence
exploitation and exploration strategies: The impact on new product performance through quality and innovativeness. Industrial Marketing Management, 40(7), 1172-1182.
Moore, D. A. (2011). A Modified delphi study of leadership profiles of the new product development process stages. Retrieved December 10, 2019. from https://www.worldcat.org/title/modified-delphi-study-of-leadership-profiles-of-the-new-product-development-process-stages/oclc/1017563780
Mu, J., Peng, G., & MacLachlan, D. L. (2009). Effect of risk management Strategy on New product development performance. International Journal of Technovation. Vol. 29, 2009, pp.170-180
Smith, M., Farr, J. V., & Sauser, B. (2012). Using Process Simulation to Manage New Product Development Pipeline Throughput. Engineering Management Journal, 24(1), 23-34.
Subramaniam, N., Collier, P., Phang, M., & Burke, G. (2011). The effects of perceived business uncertainty, external consultants and risk management on organisational outcomes. Journal of Accounting and Organizational Change, 7(2), 132-157. https://doi.org/10.1108/18325911111139671