เมืองอัจฉริยะ: ความหมายและข้อควรพิจารณาสำหรับการพัฒนาเมือง

Main Article Content

นิภาพรรณ เจนสันติกุล

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษางานวรรณกรรมจากฐานข้อมูลต่าง ๆ เพื่ออธิบายถึงนิยาม ความหมายของเมืองอัจฉริยะ องค์ประกอบ และรูปแบบจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ผลการวิเคราะห์ พบว่า 1) การนิยามความหมายเมืองอัจฉริยะมีการให้นิยามความหมายที่แตกต่างกัน 2) รูปแบบการพัฒนาเมืองอัจฉริยะจำแนกเป็น 3 รูปแบบ 3) ข้อควรพิจารณาสำหรับการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ คือ ควรมีการสำรวจและจัดเก็บข้อมูลสภาพเดิมของพื้นที่ ผังเมือง และการใช้ที่ดิน ตลอดจนข้อมูลสภาพปัญหาความยากจน จำนวนประชากรที่ประสบปัญหา จำนวนปัญหา ความถี่ของการเกิดปัญหา ลักษณะของปัญหา ลักษณะของโครงสร้างพื้นฐานเดิมที่มีในพื้นที่ ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเพื่อทำความเข้าใจถึงความซับซ้อนของพื้นที่และปัญหาการพัฒนาเมือง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Angsukanjanakul, J. (2017). Perception and awareness of Thailand Smart City. The 2017 International Academic Research Conference in Zürich, July 10-12, 2017. Zürich, Switzerland: Radisson Blu Hotel.

Aroonsrimorakot, S. & Vajaradul, Y. (2016). UN Sustainable Development Goals: 17 Aspects for Future World. Journal of Thai Interdisciplinary Research, 11(3), 1-7. (in Thai)
สยาม อรุณศรีมรกต และยงยุทธ วัชรดุลย์. (2559). เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 ประการของสหประชาชาติเพื่อโลกอนาคต. วารสารวิจัยสหวิทยาการไทย, 11(3), 1-7.

Colldahl, C., Frey, F. & Kelemen, J. E. (2013). Smart Cities: Strategic Sustainable Development for an Urban World. Master Thesis in Strategic Leadership towards Sustainability. Blekinge Institute of Technology.

Chourabi, H., Nam, T., Walker, S., Gil-Garcia, J. R., Mellouli, S., Nahon, K., Pardo, T. A., Scholl, H. J. (2012). Understanding Smart Cities: An Integrative Framework. The 45th Hawaii International Conference on System Sciences, January 4-7, 2012. Hawaii, USA: Institute of Electrical and Electronics Engineers (IEEE).

Eastern Economic Corridor Office of Thailand. [n.d.]. Government created Carpet “Smart City” Nationwide EEC is One of the Models [Online]. Retrieved February 1, 2019, from: https://www.eeco.or.th/pr/news/ThaiGovExpandsSmartCityProjectEEC. (in Thai)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. [ม.ป.ป.]. รัฐบาลปูพรมสร้าง “เมืองอัจฉริยะ” ทั่วประเทศดัน EEC เป็นหนึ่งในต้นแบบ [Online]. ค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2562, จาก : https://www.eeco.or.th/pr/news/ThaiGovExpandsSmartCityProjectEEC.

Glasmeier, A. & Christopherson, S. (2015). Thinking about Smart Cities. Cambridge Journal of Regions, Economy and Society, 8(1), 3–12.

Janboonta, A. & Jenpingporn, J. (2018). Urbanization and Policy Implications of Thailand. Focus and Quick, 128, 1-15. (in Thai)
อริสา จันทรบุญทา และจิรัฐ เจนพึ่งพร. (2561). ความเป็นเมืองและนัยเชิงนโยบายของไทย. Focus and Quick, 128, 1-15.

Manager Online. (2019). “Smart City” National Agenda: Inequality Reduction Mechanisms [Online]. Retrieved February 1, 2019, from: https://mgronline.com/stockmarket/detail/9620000113177. (in Thai)
ผู้จัดการออนไลน์. (2562). “เมืองอัจฉริยะ” วาระแห่งชาติ กลไกลดความเหลื่อมล้ำ [Online]. ค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2562, จาก : https://mgronline.com/stockmarket/detail/9620000113177.

Meijer, A. & Bolívar R. P. M. (2016). Governing the Smart city: A Review of the Literature on Smart Urban Governance. International Review of Administrative Sciences, 82(2), 392–408.

Pechpakdee, P. (2016). Urban Studies and Paradigm of Urban Knowledge. Journal of Politics and Governance, 6(2), 12-35. (in Thai)
เพชรลัดดา เพ็ชรภักดี. (2559). เมืองศึกษาและกระบวนทัศน์ของความรู้เรื่องเมือง. วารสารการเมืองการปกครอง, 6(2), 12-35.

Phatchaney, K. & Chamaratana, T. (2018). Urbanization Impact toward Capital Assets Accession and Holding of Labor Households in Khon Kaen Peri - Urban. Suratthani Rajabhat Journal, 5(2), 101-126. (in Thai)
กฤษดา ปัจจ่าเนย์ และธนพฤกษ์ ชามะรัตน์. (2561). ผลกระทบจากการกลายเป็นเมืองด้านการเข้าถึงและครอบครองสินทรัพย์ทุนของครัวเรือนแรงงานชานเมืองขอนแก่น. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 5(2), 101-126.

Pujinda, P. & Boonsom, Y. (2016). Urban Design Guideline for Specific Purposed Towns. Journal of Environmental Design, 3(1), 21-43. (in Thai)
พนิต ภู่จินดา และยศพล บุญสม. (2559). แนวคิดการพัฒนาเมืองต้นแบบ. วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม, 3(1), 21-43.

Tapananont, N., Thammapornpilas, J., Punnoi, N., Vichienpradit, P., Trakulkajornsak, K., Tangswanit, P., et al. (2018). Smart City Development. Unisearch Journal, 5(1), 3-8. (in Thai)
นพนันท์ ตาปนานนท์, จิตติศักดิ์ ธรรมมาภรณ์พิลาศ, ณัฐพงศ์ พันธ์น้อย, พรสรร วิเชียรประดิษฐ์, เกษมพันธุ์ ตระกูลขจรศักดิ์, พชร ตังสวานิช และคณะ. (2561). การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ. Unisearch Journal, 5(1), 3-8.

Thailand Convention and Exhibition Bureau (Public Organization). [n.d.]. Changing the Future of the MICE Industry with Smart City. [n.p.]. (in Thai)
สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน). [ม.ป.ป.]. พลิกโฉมอนาคตใหม่แห่งวงการไมซ์ด้วยสมาร์ทซิตี้. [ม.ป.ท.].