การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนเข้มแข็ง:โรงเรียนห้วยต้อนพิทยาคม

Main Article Content

ธีรพนธ์ คงนาวัง

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา วัตถุประสงค์ของการวิจัย  1) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนเข้มแข็ง และ  2) เพื่อศึกษาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนจากการใช้รูปแบบการบริหารโรงเรียนเข้มแข็ง  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามแบบมาตรประเมินค่า 5 ระดับ 2 ฉบับ  การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติอย่างง่าย ค่าเฉลี่ย   ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา 


          ผลการวิจัย พบว่า  


            1)รูปแบบการบริหารโรงเรียนเข้มแข็ง มี 3 องค์ประกอบ คือ  (1) ยุทธศาสตร์ขององค์การ  ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาคุณภาพครู ผู้บริหาร และบุคลากร ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาสถานศึกษาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการบริหารงาน 4 ฝ่ายของถานศึกษา และยุทธศาสตร์การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น (2)ขั้นตอนการบริหารแต่ละยุทธศาสตร์ ใช้วงจรคุณภาพPDCA และ(3) กิจกรรมการบริหารแต่ละขั้นตอนของPDCA มี 7 กิจกรรม คือ การใช้ภาวะผู้นำ การลงมือปฏิบัติจริง  การมีส่วนร่วม การสอนแนะ การกำกับติดตามดูแล การประเมินผล และการให้ขวัญกำลังใจ


            2)ระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนจากการใช้รูปแบบการบริหารโรงเรียนเข้มแข็ง โดยภาพรวมระดับคุณภาพการศึกษาอยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ชาญชัย อาจินสมาจาร. สู่ทิศทางใหม่การบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ก้าวใหม่,
2548.
ณรงค์วิทย์ แสนทอง และ ปกรณ์ วงศ์รัตนพิบูลย์. คิดแบบโค้ช. กรุงเทพมหานคร : Mass Publishing,
2557.
ธีระ รุญเจริญ. ความเป็นมืออาชีพในการจัดการและบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร :
ข้าวฟ่าง, 2550.
ธีรพนธ์ คงนาวัง. การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทที่ปฏิบัติจริง ของผู้บริหารโรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญา
ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2543.
ปฏิรูปการศึกษา, สำนักงาน. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2545.
พิชิต พิทักษ์เทพสมบัติ และ ธีรเวทย์ ประมวญรัฐการ. โครงสร้างสังคม. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538.
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา, สำนักงาน. คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอก
รอบสาม (พ.ศ.2554-2558)ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับสถานศึกษา พ.ศ.
2554. กรุงเทพมหานคร : แม็ทช์พอยท์, 2554.
เลขาธิการคุรุสภา, สำนักงาน. คู่มือการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2549.
วิจารณ์ พานิช. “วิถีแห่งองค์กรอัจฉริยะ” จุลสารอุตสาหกรรมสัมพันธ์,73 ,หน้า 2-3, 2550.
วีระยุทธ ชาตะกาญจน์. เทคนิคการบริหารสำหรับนักบริหารการศึกษามืออาชีพ.
กรุงเทพมหานคร : วี.พรินต์, 2555.
ศิริชัย กาญจนวาสี. ทฤษฎีการประเมิน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2550.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2546.
. เอกสารประกอบการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลง เพื่อรองรับ
การกระจายอำนาจสำหรับผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อุษาการพิมพ์ , 2550.
สุภัทร พันธ์พัฒนกุล. การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีประสิทธิผล สังกัด
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2557.
ห้วยต้อนพิทยาคม, โรงเรียน. รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา. ชัยภูมิ : โรงเรียน
ห้วยต้อนพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ, 2544.
Adamson, Michael Taylor. Effective school board leadership and governance: The impact
of training and continuous education on self-perceptions of board competency.
Dissertation Abstracts International. 72, 12(June 2012): 4389-A.
Berlo, David K. The Process of Communication. New York : Halt Rinchart & Wimston,
1968.
Biddle, Bruce J. Role Throry : Expectation,Identities,and Behaviors. New York : Academic
Press, 1979.
Boyd, Judy Ann. Preparedness levels of middle school teachers, assistant principals, and
principals to respond to acts of violence in a Mississippi school district.
Dissertation Abstracts International. 72, 12(June 2012): 4390 - A.
Broom, Leonard., and Selznick, Phillip. Sociology. New York : Harper & Row , 1977.
Cohen, Bruce J. Introduction to Sociology. New York : McGraw – Hill, 1979.
Fultz, David M. Principal Influence on School Climate: A Networked Leadership Approach.
Dissertation Abstracts International. 72, 12(June 2012): 4391 - A.
Gorton, Richard D. School Administration and Supervision. Dubuque : Wm.C.Brown,
1983.
Grant, Carlos Christopher. Professional development in North Carolina public schools:
Analysis of administrative participation in high school Professional Learning
Communities. Dissertation Abstracts International. 72, 12(June 2012): 4391 - A.
Hoy, Wayne K., and Miskel, Cecil G. Educational Administration : Theory, Research and
Practice. Singapore : McGraw-Hill International Edition, 2008.
Kirkpatrick, Donald E. The instructional leadership role of assistant principals in
comprehensive high schools. Dissertation Abstracts International. 72, 1(July
2011): 46 - A.
Logan, Lisa Ellis. Identifying middle school students at risk for dropping out of high
school. Dissertation Abstracts International. 72, 1(July 2011): 47 - A.
Lunenburg, Fred C., and Ornstein, Allan C. Educational Administration : Concepts and
Practices. Belmont : Wadsworth Publishing. 1996.
Mark, M. Davis, Nicholas, J. Aquilano, and Richard, B. Chase, Fundamentals of
Operations Management . New York : Longman, 2003.
Marquardt , Michael J. Building the learning organization. (2nd ed.). Palo Alto, CA : Davies-
Black Publishing, 2011.
Meade LB. et al. From theory to actual practice: creation and application of milestones in
an internal medicine residency program, 2004-2010. Retrieved March 19, 2014.
from http://www.ncbi.nlm.gov/pubmed/22646298, 2012.
Reimer, Catherine Nicole. A comparative case study of veteran superintendent’s
leadership and organizational processes in addressing the academic
achievement of students in low performing school districts. Dissertation
Abstracts International. 72, 1(July 2011): 49 - A.
Siegel, Kyrie. School board member practices in governance, teamwork and board
development, and their sense of effectiveness in high and low math academic
achievement districts of New York State. Dissertation Abstracts International. 70,
12(June 2010): 4545- A.