การคลังภาครัฐเปรียบเทียบ : กรณีศึกษาไทย สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สาธารณรัฐสิงคโปร์ และสาธารณรัฐเกาหลี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การคลังภาครัฐบาล (Public Finance) เป็นการคลังในส่วนของภาครัฐบาล ตลอดจนเป็นการคลังในกิจกรรมใดๆ ที่รัฐบาลเป็นเจ้าของ ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมทางการคลัง การเงินต่างๆ ของรัฐบาลที่ถือเป็นหน่วยที่สำคัญหน่วยหนึ่งของระบบสังคม และมีผลผูกพันและกระทบต่อพลเมืองในรัฐ ตลอดจนมีความเกี่ยวเนื่องกับบทบาทในทางเศรษฐกิจของรัฐบาล บทความทางวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการคลังภาครัฐของ 5 ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สาธารณรัฐสิงคโปร์ และสาธารณรัฐเกาหลี เนื่องจากเป็นประเทศมหาอำนาจหรือผู้นำทางเศรษฐกิจของโลกหรือของภูมิภาคต่างๆ ซึ่งล้วนแต่ส่งผลต่อรูปแบบเศรษฐกิจและการบริหารจัดการคลังภาครัฐ ตลอดจนมีพัฒนาการและภูมิหลังทางเศรษฐกิจที่น่าสนใจ เช่นกรณีการเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่ไม่ว่าจะเป็นวิกฤติการณ์ต้มยำกุ้ง วิกฤติการณ์แฮมเบอร์เกอร์ ที่มีจุดเริ่มต้นจากประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา การพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดดของสาธารณรัฐสิงคโปร์ และสาธารณรัฐเกาหลี หรือแม้กระทั้งการแยกตัวออกจากสหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักร จึงล้วนแต่เป็นประเทศกรณีตัวอย่างที่น่าศึกษาระบบการคลังภาครัฐได้เป็นอย่างดี โดยมีขอบข่ายสําคัญ ๆ เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่พิจารณาใน 6 เรื่อง ได้แก่ รายได้ของรัฐบาล (Government Reverence) รายจ่ายของรัฐ (Public Expenditure) หนี้สาธารณะ (Public Debt) งบประมาณแผ่นดิน (Government Budget) นโยบายการคลัง (Fiscal Policy) และ นโยบายการเงิน (Monetary policy)
Article Details
- วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยมหิดล อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาต CC Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) โดยต้องแสดงที่มา/การอ้างอิงจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลงเนื้อหา
- ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ (ซึ่งหมายรวมถึง บรรณาธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิในกองบรรณาธิการ หรือ บรรณาธิการรับเชิญ) แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ
- กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการตัดทอน/ปรับแก้ถ้อยคำบางประการเพื่อความเหมาะสม
References
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). รายงานภาวะเศรษฐกิจ ในประเทศ ปี 2560. จาก: http://www.nesdb.go.th/ewt_news.php?nid=5851&filename=index
สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโซล. (2556). ภาพรวมเศรษฐกิจของเกาหลีใต้. ออนไลน์จาก:
http://www.thaiembassy.org/seoul/th/business.
สัญญา เคณาภูมิ และ วัชราภรณ์ จันทะนุกูล, (2559). การจัดการคลังภาครัฐ. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) .
สัญญา เคณาภูมิ และ วัชราภรณ์ จันทะนุกูล, (2559). การจัดการคลังภาครัฐ. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐ
ประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) 2559.
โพสทูเดย์. (2560). กรมบัญชีกลางแจงหลังมีข้อครหาเงินคงคลังลดลง. ออนไลน์จาก:
https://www.posttoday.com/finance/news/512870.
มติชนรายวัน. (2559). คอลัมน์ Think Tank: หนี้สาธารณะท่วม เรื่องปวดหัวของผู้กำหนดนโยบาย. ออนไลน์
จาก: https://www.matichon.co.th/foreign/news_253983.
สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2560). งบประมาณโดยสังเขปประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561.
กรุงเทพฯ: สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักงบประมาณของรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2561). รายงานการวิเคราะห์ร่าง
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561. กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2560). การดำเนินนโยบายการคลังของรัฐบาล. ออนไลน์จาก:
https://gnews.apps.go.th/news?news=13918.
รายงานการค้าไทย-สหรัฐฯ ของสินค้าลงทุนและสินค้าศักยภาพคลัง. (2561). http://www.commercethaiusa.org/oca/index.php สืบค้นวันที่ 1 พฤษภาคม 2561.
OFFICE OF COMMERCIAL AFFAIRS, WASHINGTON, DC. (2560). รายงานสรุปภาวะเศรษฐกิจการค้าสหรัฐฯ: สานักงานพาณิชย์ในต่างประเทศ ณ กรุงวอชิงตัน
Rosen, Harvey S. (2005). Public Finance. 7th ed. New York : Mc Graw-Hill,
Eckstein, Otto. (1967). Public Finance. 2nd New jersey : Prentice-Hall
"[ARCHIVED CONTENT] PESA 2007". Hm-treasury.gov.uk. Archived from the original on 29 January 2013. Retrieved 1 April 2010.
"Autumn Statement 2016". November 2016. Section 1.4.
"Central Government Supply Estimates 2012–13; Vote on Account, HC 1756" (PDF). February 2012. p. 3. Archived from the original (PDF) on 10 February 2014.
"Central Government Supply Estimates (2011–12): Main Supply Estimates" (PDF). 26 April 2011. Archived from the original (PDF) on 10 February 2014.
"Autumn Budget 2017". November 2017.
International Monetary Fund. (2017). World Economic Outlook October 2017. Washington, DC,
Ministry of Finance. (2017). Analysis of REVENUE AND EXPENDITURE Financial Year 2017. From:https://www.singaporebudget.gov.sg/data/budget_2017/download/FY2017_Analysis_of_Revenue_and_Expenditure.pdf
Straitstimes. (2018b). Singapore Budget 2018: GST to be raised from 7% to 9% sometime between 2021 and 2025. From: https://www.straitstimes.com/singapore/singapore-budget-2018-gst-to-be-raised-from-7-to-9-sometime-between-2021-and-2025
The Inland Revenue Authority of Singapore (IRAS). (2017). IRAS Annual Report 2016/17. From: https://www.iras.gov.sg/irashome/News-and-Events/Newsroom/Media-Releases-and-Speeches/Media-Releases/2017/IRAS-Annual-Report-2016/17/