การประเมินผลการดำเนินโครงการชุมชนปลอดภัยไร้อาชญากรรม ของตำรวจภูธรภาค 7 ตามแบบจำลอง CIPP MODEL

Main Article Content

ภคิน ศิวเมธากุล

บทคัดย่อ

การศกึ ษาวจิ ยั นมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเ์พอื่ ประเมนิ ผลโครงการชมุ ชนปลอดภยั ไรอ้าชญากรรมของตำรวจภธูรภาค 7 โดยใชแ้บบจำลองการประเมนิแบบ CIPP Model กลุ่มตัวอย่างเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจ ในโครงการสังกัดตำรวจภูธรภาค 7 ทั้งหมด จำนวน 208 คน ใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือ ในการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ค่าทางสถิติโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (standard deviation : S.D.) การวเิคราะหค์า่ Chi-square วเิคราะห์ ข้อมูลโดยโปรแกรม SPSS for Window ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ด้านข้อมูลปัจจัยภูมิหลังหรือสถานภาพส่วนบุคคล พบว่า กลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่ประชากรกลุ่มตัวอย่างเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรภาค 7 ที่เข้า ร่วมโครงการชุมชนปลอดภัยไร้อาชญากรรมของตำรวจภูธรภาค 7 ที่ทำการ ศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 46 ปีขึ้นไป การศึกษาต่ำกว่าระดับ ปรญิญาตรี เปน็ขา้ราชการชนั้ประทวน ประสบการณใ์นการทำงาน/การปฏิบัติงานมากกว่า 20 ปีขึ้นไป สถานภาพสมรสแล้ว มีรายได้ 15,000 บาทขึ้นไปต่อ เดือน


2) ด้านระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการประเมินโครงการ พบว่าระดับ ความคิดเห็นในภาพรวม ในระดับความคิดเห็นมากที่สุดด้านบริบทหรือ สิ่งแวดล้อม ด้านผลผลิตและด้านความยั่งยืนของโครงการ ระดับมากด้าน กระบวนการดำเนินการ ระดับปานกลาง 3) ดา้ นการทดสอบสมมตฐิ านระหวา่ งปจั จยั สว่ นบคุ คลกบั ระดบั ความ คิดเห็นต่อการประเมินผลโครงการ พบว่า ปัจจัยด้าน เพศ ระดับการศึกษา ตำแหนง่หนา้ที่ สถานภาพสมรส รายได้ จำนวนโครงการพฒันาของสถานตีำรวจ ที่เคยดำเนินการ บทบาทในการดำเนินโครงการ และการสื่อสารระหว่าง ทีมงานมีความสัมพันธ์กับระดับของการดำเนินโครงการ ในขณะที่อายุ ประสบการณใ์นการทำงาน/การปฏบิตังิาน ไมม่คีวามสมัพนัธก์บัระดบัของการ ดำเนินโครงการ 4) ขอ้ เสนอแนะจากการวจิ ยั คอื ควรประสานการดำเนนิโครงการกบั หน่วยอื่น ๆ จัดสรรงบประมาณและเพิ่มจำนวนบุคลากร ส่งเสริมและพัฒนา สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ ยกย่องชมเชยผู้ปฏิบัติงาน ประชาสัมพันธ์การ ดำเนินการและมีการสร้างเครือข่าย การศึกษาเปรียบเทียบ การจัดทำแผนที่ การดำเนินการและวิจัยเชิงคุณภาพ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เขตคงรฐั ธรรมสตัย.์ (2554). ปจัจยัทมี่คีวามสมัพนัธก์บัคณุลกัษณะของสถานี ตำรวจเพื่อประชาชน กรณีศึกษาสถานีตำรวจที่มีผลการประเมิน ตามโครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชนดีเด่น ประจำปี 2552-2553 จงัหวดัอบุลราชธาน.ี วทิยานพินธ์ รฐัศาสตรมหาบณัฑติ สาขาวิชาการปกครอง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
ประสิทธิ ลอยวิสุทธิ์. (2554). การประเมินการปฏิบัติงานแบบดุลยภาพของ สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจสงขลา จำกัด. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมิน มหาวิทยาลัยทักษิณ. ถาวรศักดิ์ เทพชาตรี. (2550). อิทธิพลของปัจจัยภูมิหลัง ภาวะผู้นำ ขวัญ กำลังใจ และการรับรู้วัฒนธรรมท้องถิ่นและวัฒนธรรมองค์กรที่มี ผลต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจในเขตพื้นที่ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารการพัฒนา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา. ศรีสุดา วงศ์วิเศษกุล. (2556). การประเมินผลโครงการ การพัฒนาศูนย์การ เรยีนรเู้พอื่การสรา้งเสรมิสขุภาพเดก็ปฐมวยัและผสู้งูอายใุนชมุชน. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2556. นครราชสีมา. สุลาวัลย์ แซ่ด่าน และคณะ. (2559). การประเมินโครงการความร่วมมือกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริการชุมชนของสถาบันการ พลศึกษา วิทยาเขตกระบี่. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติครั้งที่ 7 วันที่ 23 มิถุนายน 2559 มหาวิทยาลัย หาดใหญ่. ศรายุทธ จุณณวัตต์. (2542). ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการสนอง นโยบายโครงการพัฒนาสถานีตำรวจเพื่อประชาชนในสังกัด กองบัญชาการตำรวจนครบาล. วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคม สงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. Caldwell, L. K. (1965). Environment : A Challenge in Modern Society. New York : Double-day.