การเตรียมความพร้อมเพื่อการเกษียณอายุ ของพนักงานธนาคารกรุงไทย จำกัด(มหาชน)

Main Article Content

พลอยพัชร์ กิจเจริญเกษม

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การเตรียมความพร้อมเพื่อการเกษียณอายุของพนักงานธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) 2)เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างปัจจัยเชิงบุคคลต่อการเตรียมความพร้อมเพื่อการเกษียณอายุของพนักงานธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) 3) แนวทางเชิงนโยบายเพื่อการเตรียมความพร้อมของผู้เกษียณอายุสำหรับพนักงานรัฐวิสาหกิจโดยกลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานที่ปฏิบัติงานอยู่ที่สำนักงานใหญ่ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)โดยมีอายุตั้งแต่ 40-59 ปี  รวม 310 คน และ ตัวแทนพนักงานธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ระดับผู้จัดการธนาคารกรุงไทย รวม 3 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่า t-testและค่าOne-way Analysis of Variance


ผลการวิจัยพบว่า การเตรียมความพร้อมเพื่อการเกษียณอายุ ของพนักงานธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ในภาพรวมอยู่ในระดับสูง และเมื่อเปรียบเทียบการเตรียมความพร้อมเพื่อการเกษียณอายุ ของพนักงานธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)โดยรวมกับปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน ภาวะสุขภาพ ความเพียงพอของรายได้ รูปแบบครอบครัว ที่แตกต่างกัน พบว่าปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน ภาวะสุขภาพ ความเพียงพอของรายได้ รูปแบบครอบครัวที่แตกต่างกันมีผลต่อการเตรียมความพร้อมเพื่อการเกษียณอายุผลการสัมภาษณ์เกี่ยวกับนโยบายการเตรียมความพร้อมของผู้เกษียณอายุสำหรับพนักงานรัฐวิสาหกิจพบว่า ธนาคารมีการส่งเสริมนโยบายในการเตรียมความพร้อม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านสุขภาพ แต่ขาดการส่งเสริม ด้านจิตใจ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2551). การศึกษาแนวทางการดำเนินงานกองทุนผู้สูงอายุ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2553). โครงการวิจัยระบบการดูแลระยะยาวเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงเพื่อวัยสูงอายุ
การเรียนรู้.การประชุมทางวิชาการประจำปีพ.ศ. 2549 ระหว่างวันที่ 1-3 พฤศจิกายน 2549 จัดโดยสมาคมพฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุไทย.
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.)และกองทุนประชากรแหงสหประชาชาติ (UNFPA) ประเทศไทย.รายงานผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางประชากรในประเทศไทยต่อการเป็นสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย
ชวน ไชยสิทธิ์. (2540). การเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุราชการของข้าราชการตำรวจที่กำลังจะเกษียณอายุสังกัดกองบัญชาการตำรวจนครบาล.วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล.
ดวงจันทร์ บุญรอดชู (2540). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเตรียมตัวเกษียณอายุของข้าราชการ : ศึกษาเฉพาะกรณีข้าราชการกระทรวงสาธารณสุข : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ธาดา วิมลฉัตรเวที. (2543). การเตรียมตัวก่อนเกษียณอายุทำงานของบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยของรัฐ.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ธีระ ชัยยานนท์. (2543) การเตรียมตัวก่อนเกษียณอายุราชการของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนสังกัดกองบังคับการตำรวจนครบาล1-9 กองบัญชาการตำรวจนครบาล. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาประชากรศึกษา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล.
นพมาศ ธีรเวคิน. (2539). จิตวิทยากับชีวิต.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บรรลุ ศิริพานิช. (2549). คู่มือผู้สูงอายุฉบับสมบูรณ์.พิมพ์ครั้งที่ 21. กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.
บรรลุ ศิริพานิช. (2551). คู่มือผู้สูงอายุ: ฉบับเตรียมตัวก่อนสูงอายุ (เตรียมตัวก่อนเกษียณอายุการงาน). กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.
บุญเทือง โพธิ์เจริญ. (2551). แผนที่ชีวิตวัยเกษียณ.กรุงเทพฯ: ฐานบุ๊ค.
ประนอม โอทกานนท์. (2554). ชีวิตที่สุขสมบูรณ์ของผู้สูงอำยุไทยหลักการงานวิจัยและบทเรียนจากประสบการณ์. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประภาศรี มานิตย์ (2542). การปรับตัวหลังเกษียณของบุคลากรสายอาจารย์สถาบันอุดมศึกษา จังหวัดเชียงใหม่สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ ,บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ปรีชา อุปโยคินและคณะ. (2541). ไม้ใกล้ฝั่งสถานภาพและบทบาทของผู้สูงอายุ.โครงการศึกษาวิจัยครบวงจรเรื่องผู้สูงอายุในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปิยรัตน์ เมืองไทย. (2541). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเตรียมตัวต่อการเข้าสู่วัยสูงอำยุของข้าราชการสตรีโสดสังกัดราชการส่วนกลางกระทรวงสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาประชากรศึกษา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล.
ผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาชมรมผู้สูงอำยุร่มเกล้ำเขตลำดกระบังกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาพยาบาลสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล.
พัชราภา มนูญภัทราชัย. (2544). การเตรียมตัวก่อนเข้าสู่วัยสูงอำยุของประชำกรในชุมชนขนาดใหญ่พื้นที่เขตบางซื่อ. วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมสงเคราะห์ศาตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พิมพ์พิมุข โพธิ์ปักขิย์. (2550). ปัจจัยทางชีวสังคมทัศนคติต่อการเกษียณอำยุความเครียดจากภาระหนี้สินกับการเตรียมตัวก่อนการเกษียณอายุการทำงานของข้าราชการครูในจังหวัดพิจิตร.
ภทรพร ยุทธาภรณ์พินิจ. (2547). รูปแบบการพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ตามแนวคิดของป.อ.ปยุตโต.วิทยานิพนธ์ปริญญาครุสตร์ดุษฎีบัณฑิตภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มัลลิกา มัติโกและคณะ. (2542). ร่มโพธิ์ร่มไทรสถานภาพและบทบาทในสังคมของผู้สูงอายุ.โครงการศึกษาวิจัยครบวงจรเรื่องผู้สูงอายุในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.
มาลินีวงษ์สิทธิ์และศิริวรรณศิริบุญ. 2544. ประชาสังคมกับการเกื้อหนุนผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยประชากรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ). (2551). หลักประกันด้านรายได้สำหรับผู้สูงอายุไทย
รัชนีฝนทองมงคล. (2538) การดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุภายหลังเกษียณอายุราชการ : ศึกษาจากข้าราชการบำนาญ สังกัดกรุงเทพมหานคร .วิทยานิพนธ์สส.ม. (สังคมสงเคราะห์). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ราตรี เจียมจารุภา. (2542). รายงานการวิจัยการศึกษาความต้องการการเตรียมตัวก่อนการเกษียณของข้าราชการก่อนการเกษียณสังกัดมหาวิทยาลัยรามคำแหง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วรรณา กุมารจันทร์, 2543 คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตภาคใต้ตอนบน วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์. มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ,บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วิทยาลัยประชากรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยบทสรุปผู้บริหารสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความรู้และทัศนคติที่มีต่อผู้สูงอายุพ.ศ. 2550. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2557 จากวิจิตรบุณยะโหตระ. (2537). คู่มือเกษียณอายุ.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ธรรมสาร.
ศรีจิตรา บุนนาค. (2549). เหลียวหน้าแลหลังการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุบริบทเชิงรุกกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554). ผู้สูงอายุในสังคมแห่งภูมิปัญญาและ
ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2545). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย(เล่ม 2 วัยรุ่น-วัยสูงอายุ.พิมพ์ครั้งที่ 8 แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศศิพัฒน์ ยอดเพชร.(2549). ระบบการดูแลระยะยาวในครอบครัวสำหรับผู้สูงอายุ กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศศิมา ทวีสิน. (2538). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับการเตรียมตัวในการดำรงชีวิตเมื่อเกษียณอายุของข้าราชการกระทรวงสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาประชากรศึกษา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล.
สถาบันวิจัยตลาดทุน. (2555) การเตรียมพร้อมสาหรับการวางแผนทางการเงินเพื่อวัยเกษียณของกลุ่มแรงงานในระบบช่วงอายุ 40 - 60 ปี, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
สมฤดีธัม กิตติคุณ. (2550). การเตรียมตัวก่อนการเกษียณอายุทำงานของบุคลากรฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลจุฬำลงกรณ์.สารนิพนธ์กศ.ม. (จิตวิทยาพัฒนาการ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สารนิพนธ์กศ.ม. (จิตวิทยาพัฒนาการ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (25555). การคาดประมาณการประชากรของประเทศไทย.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2554). สรุปผลที่สำคัญการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๔.
สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน. (2551). โครงการสร้างและขยายโอกาสในการเข้าถึงหลักประกันทางสังคมขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุ: เพื่อศึกษาวิจัยเรื่องการขยายกำหนดเกษียณอายุและการออมสำหรับวัยเกษียณอายุ
สุขใจ น้ำผุด.(2539). กลยุทธ์การบริหารการเงินบุคคล.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุพรรณี รัตนานนท์ และนายเมธี จันทชาต(2557) รูปแบบการเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุงาน กรณีศึกษาครูโรงเรียนเอกชนจังหวัดนนทบุรี. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก.
สุมนัส วงศ์กุญชร. (2537). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับการเข้าร่วมกิจกรรมของสมาชิกชมรม
สุรกุล เจนอบรม. (2534).วิทยาการผู้สูงอายุ. ภาควิชาการศึกษานอกโรงเรียนคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อนิวัช แกวจํานงค์ . (2552). การจัดการทรัพยากรมนุษย์= Human resource management.สงขลา :ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยทักษิณ.

Ajzen, I and Fishbein, M. (1980). Understanding Attitude and Predicting Social Behavior. New Jersey: Prentice-Hall.
Atchley, R.C. (1994). Social Forces and Aging: An Introduction to Social Gerontology. 7th ed. California: Wadsworth Publishing Co.
Frank K. Reilly and Edgar A. Norton. 2006. Investments. Quebec : Transcontinental Printing.
Kendler, H.H. (1974). Basic Psychology. California: W.A. Benjamin Inc.
Leedy, J.J. and Wynbrandt, J. (1987).Executive Retirement Management.New York: Facts on File Publications.
McPherson, B. and Guppy, N. (1979). Preretirement Life-style and the Degree of Planning for Retirement.Journal of Gerontology.34 (2).
Powell, D.H. 1986. Understanding Human Adjustment: Normal Adaptation throughthe Life Cycle. Boston : Little Brown.