ลักษณะของธุรกิจที่ส่งผลต่อคุณลักษณะของผู้สอบบัญชี รายงานการสอบบัญชี และรายงานการเงิน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะทั่วไปของธุรกิจของผู้ตอบแบบสอบถาม 2) วิเคราะห์ความแตกต่างลักษณะของธุรกิจ ประกอบด้วย ประเภทของธุรกิจ รูปแบบการประกอบธุรกิจ และจ านวนปีของการด าเนินงาน โดยจ าแนกตามคุณลักษณะของผู้สอบบัญชี ประกอบด้วย การสอบบัญชี ความเป็นอิสระ และความรับผิดชอบทางกฎหมาย และ 3) วิเคราะห์ลักษณะของธุรกิจที่ส่งผลต่อคุณลักษณะของผู้สอบบัญชี รายงานการสอบบัญชี และรายงานการเงิน ผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานประกอบการ จ านวน 361 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติทดสอบสมมติฐาน คือ Multinomial Logistic Regression (MLR) ผลการวิจัยพบว่า 1. ลักษณะทั่วไปของธุรกิจของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นธุรกิจให้บริการ รองลงมาเป็นธุรกิจจ าหน่ายสินค้า โดยมีรูปแบบการประกอบธุรกิจส่วนใหญ่เป็นกิจการของคนไทย และมีจ านวนพนักงานในธุรกิจไม่เกิน 50 คนตลอดจนส่วนใหญ่ท างานมากกว่า 10 ปี รองลงมาท างานน้อยกว่า 3 ปี ทั้งนี้จ านวนปีที่ด าเนินงานของธุรกิจ ส่วนใหญ่ด าเนินงานมากกว่า 20 ปี รองลงมา 5-10 ปี
2. การวิเคราะห์โดยใช้ผลรวมของค่าความแตกต่างเพื่อหาค่าเฉลี่ยตามประเด็นย่อย ๆ ในแต่ละเรื่องจะให้ค่าเฉลี่ยที่แตกต่างในประเด็นต่าง ๆ อย่างเห็นได้ชัดเจนขึ้น
3. การทดสอบสมมติฐาน พบว่า ลักษณะของธุรกิจ (ประเภทของธุรกิจ รูปแบบการประกอบธุรกิจ และจ านวนปีของการด าเนินงานของธุรกิจ) ที่แตกต่างกันไม่ส่งผลกระทบต่อคุณลักษณะของผู้สอบบัญชี รายงานการสอบบัญชี และรายงานการเงิน โดยได้ค่า p-value มากกว่า 0.000 ทุกค่า ที่ระดับนัยส าคัญ 0.05
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์. 2562. กฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2534) ออกตามความในพระราชบัญญัติผู้สอบบัญชี พ.ศ. 2505. สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2562 จาก http://www.dbd.go.th/ewt_news.php?nid=1115.
กรุงเทพธุรกิจ. 2546. เช็คบิลผู้สอบบัญชี. สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2561 จาก http://www.108acc.com/articles/141770/%E0%13E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B9%88%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2.html.
ดารารัตน์ มากมีทรัพย์. 2553. การศึกษาผลการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาวิชาการเลือกและการใช้สื่อการเรียนการสอนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธิดา ชูทวี. 2550. ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อแหล่งท่องเที่ยวชายหาดสมิหลา จังหวัดสงขลา. ปริญญานิพนธ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ.
นันทวรรณ วงค์ไชย. 2552. ผลกระทบของความเป็นมืออาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพที่มีต่อคุณภาพการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปพร ศรีจั่นเพชร. 2558. การสอบบัญชีและการให้ความ เชื่อมั่น. กรุงเทพ: ทีพี เอ็น เพรส.
นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปพร ศรีจั่นเพชร. 2559. การสอบบัญชี. กรุงเทพ: หจก. ทีพีเอ็น เพรส.
บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. 2553. ระเบียบวิธีการวิจัยทางพยาบาลศาสตร์. กรุงเทพ: ยูแอนด์ไอ อินเตอร์ มีเดีย.
ปภัสรา ช่างสาร. 2555. ผลกระทบของคุณลักษณะการสอบบัญชีที่มีต่อคุณภาพการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ในประเทศไทย. ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคม.
ปรียาภรณ์ พูลศรี. 2552. ความคิดเห็นของผู้ประกอบการต่อการส่งเสริมอุตสาหกรรมของสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน). ปริญญา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา.
พยอม สิงห์เสน่ห์. 2550. การสอบบัญชี. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ ห้างหุ้นส่วนจำกัด ชวนพิมพ์.
มนัญญา แย้มอรุณ. 2554. การบริหารงานวิชาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดราชบุรีตามความคิดเห็นของนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นักวิชาการศึกษา และหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง.
วรรัตน์ ประเสริฐท่าไม้. 2550. ความคิดเห็นของลูกค้าที่มีต่อการให้บริการติดตั้งและบำรุงรักษาระบบ SAP กรณีศึกษาบริษัท Holcim Service (Asia) Ltd. การศึกษาค้นคว้าอิสระ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศรัณย์พัส ศรีสวัสดิ์. 2550. ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามความคิดเห็นของพนักงานในบริษัทผู้จำหน่ายรถยนต์ จังหวัดเชียงราย. บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย.
ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 2. 2560. นิยามเอสเอ็มอี. กฎกระทรวงกำหนดจำนวนการจ้างงานและมูลค่าสินทรัพย์ถาวรของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ.2545. (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 119 ตอนที่ 93 ก หน้า 17 วันที่ 20 กันยายน 2545) สืบค้นเมื่อ สืบค้นเมื่อ 7 มกราคม 2562 จาก https://ipc2.dip.go.th/th/category/2016-11-09-08-51-32/2017-11-22-02-41-25
สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. 2562. มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 200 วัตถุประสงค์โดยรวมของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 จาก http://www.tfac.or.th/upload/9414/pniXNXO4Sw.pdf
สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย. 2554. มาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน รหัส 2420 คุณภาพของสายงาน. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 จาก http://www.theiiat.or.th
สิรินทร แซ่ฉั่ว. 2553. ความสุขในการทำงานของบุคลากรเชิงสร้างสรรค์: กรณีศึกษาอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์กลุ่มสื่อและกลุ่มงานสร้างสรรค์เพื่อการใช้งาน. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สิริมา ขับสนิท. 2553. ความคิดเห็นของธุรกิจขนาดย่อมในกรุงเทพมหานครที่มีต่อการให้บริการ สอบบัญชีเพิ่มเติมในรูปแบบใหม่. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
สุนิษา ธงจันทร์. 2552. ผลกระทบของคุณลักษณะทางวิชาชีพที่มีต่อคุณภาพการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีภาษีอากรในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ภาษาอังกฤษ
Freeman, R.E. 1984. Strategic Management: Stakeholders Approach. Boston: Pitman.
Freeman, R.E., Harrison, J.S. and Wicks, A.C. 2007. Managing for Stakeholders: Survival, Reputation, and Success. New Haven: Yale University Press.
Humphrey, C.G. 1997. Debating audit expectation. In Sherer, M. and Turley, W.S., Current Issues in Auditing, London: Paul Chapman Publishing. pp.3-30.
Humphrey, C.G., Moizer, P., and Turley, W.S. 1993. The audit expectation gap in Britain: an empirical investigation. Accounting and Business. 23 (Winter 1993): 395-411.
Jeong, S. W. 2004. “Big Six Auditors and Audit Quality : The Korean Evidence,” The International Journal of Accounting. 39(2) : 175-196.
Kotler Philip. 2003. Marketing Management. 11th ed. New Jersey: Pentice Hall.
Monroe, G.S. & Woodliff, D.R. 1994. An empirical investigation of the audit expectation gap: Australian evidence. Accounting and Finance. 34(May 1994) : 47-75.
Patrick Leung & Geraid Chau. 2001. The Problematic relationship between audit reporting and audit expectations: some evidence from Hong Kong. Advances in Intermational Accounting. 14(2001): 181-200.
Porter, B. 1993. An empirical study of the audit expectation-performance gap. Accounting and Business Research. 24(Winter 1993): 49-68.
Porter, B. 1999. The audit expectation-performance gap-an ever present, ever changing problem?. England: School of Management, Cranfield University. (Unpublished Manuscript).
Robert Mednick. 1986. The auditor’s role in society: a new approach to solving the perception gap. Journal of Accountancy. 161, No2(February): 70-74.
Valarie A. Zeithaml and Mary Jo Bither. 2000. Services Marketing: Integrating customer focus across the firm. 2nd ed. USA: McGraw-Hill.