ความรับรู้เกี่ยวกับพระวอและพระตา ในงานเขียนของทายาทอาญาสี่เมืองอุบล

Main Article Content

สุธิดา ตันเลิศ

บทคัดย่อ

                  ความรับรู้เกี่ยวกับอดีตของชุมชนลุ่มน้ำโขงได้ถูกสร้างให้รู้ถึงอดีตที่มีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับศูนย์กลางอำนาจทางการเมืองที่ตนสังกัด ยกตัวอย่าง ช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 พระวอและพระตาคือกลุ่มชาติพันธุ์ไตลาว ผู้ปฏิเสธอำนาจกรุงเวียงจันทน์และหลบหนีออกมาจากอาณาจักรล้านช้าง พวกเขาได้ข้ามฝั่งตะวันตก ลำน้ำโขงเพื่อตั้งถิ่นฐานยังบริเวณหนองบัวลุ่มภู่ จำปาศักดิ์ ดอนมดแดงและห้วยแจละแม ตามลำดับ ประวิศาสตร์นิพนธ์ลาวฉบับสิลา วีระวงส์มองว่า พระวอและพระตาคือคนอื่น ที่แตกต่างจากหลวงพระบาง เวียงจันทน์ และจำปาศักดิ์ ในมุมมองตรงข้าม ประวัติศาสตร์เมืองอุบลบนฝั่งตะวันตกแม่น้ำโขงได้ยอมรับพระวอและพระตาในฐานะผู้สถาปนาเมืองและเป็นบรรพบุรุษของเจ้าเมืองอุบลคนแรก (เจ้าคำผง) ประเด็นนี้คือตัวอย่างการความทางประวัติศาสตร์ที่ขัดแย้งกัน ปัจจุบัน ทายาทอาญาสี่เมืองอุบลกับคนเมืองอุบลเห็นว่าพระวอและพระตาเป็นเรื่องตำนานเมืองอุบลที่เชื่อมโยงกับอาณาจักรล้านช้าง

Article Details

บท
บทความวิชาการ (Academic articles)

References

กฎหมายหนองบัวลำภู ฉบับบ้านเหล่าหมี อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหร. อ้างถึงใน อรรถ นันท์จักร. 1986. ประวัติศาสตร์นิพนธ์อีสาน: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ประเพณีการจดบันทึกประวัติศาสตร์หัวเมืองอีสานถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20. วิทยานิพนธ์ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้. มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์.

เจีย แจนยอง. 2004. “คนไท” ไม่ใช่ “คนไทย” แต่เป็นเครือญาติชาติภาษา รวมความรู้ไทยศึกษาของศาสตราจารย์สองแผ่นดิน. สุจิตต์ วงษ์เทศ. บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : มติชน.


เติม วิภาคย์พจนกิจ. 1970. ประวัติศาสตร์อีสาน เล่มที่ 1 .กรุงเทพฯ : โครงการผลิตตำราสังคมศาสตร์แล มนุษยศาสตร์.

________. 1987.ประวัติศาสตร์อีสาน เล่มที่ 1. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพ ฯ : โครงการผลิตตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

________. 2014. ประวัติศาสตร์อีสาน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สามลดา.

บำเพ็ญ ณ อุบล. 2004. เล่าเรื่องตำนานเมืองอุบล. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ปัญญา แพงเหล่า. 2011. 100 เรื่องเมืองอุบล. อุบลราชธานี: อุบลออฟเซทการพิมพ์.
พงศาวดารกรุงธนบุรีฉบับเจิม พันทุมาศ .2008. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย.

พระยาอำมาตยาธิบดี. 2002. พงศาวดารนครจำปาศักดิ์.ในกรมศิลปากร.ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่มที่ 9 . กรุงเทพ ฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.

สิลา วีระวงส์. 1990. “คำชี้แจงเรื่องสังข์ศิลป์ไชยตามฉบับตีพิมพ์ปี ค.ศ. 1949.” ในชีวิตและผลงานของมหา สิลา วีระวงส์. วีระพงศ์ มีสถาน (ผู้แปลภาษาลาวเป็นภาษาไทย) กรุงเวียงจันทน์: โรงพิมพ์แห่งรัฐ ส.ป.ป.ลาว. หน้า 104-117.

สิลา วีระวงส์. 1996. ประวัติศาสตร์ลาว.กรุงเทพ ฯ : มติชน.

หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (ม.ร.ว.ปฐม คเนจร). 2002. พงษาวดารหัวเมืองอิสาน.ในกรมศิลปากร.ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่มที่ 9 . กรุงเทพ ฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.

เอี่ยมกมล จันทะประเทศ. 1995. สถานภาพเจ้านายพื้นเมืองอุบล ระหว่างปีพงศ.2425-2476. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิตสาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Foo Ming Liew-Harres. 2007. “Intra-dynastic and Inter-Tai Conflicts in the Old Kingdom of Moeng Lũ in Southern Yunnan. SOAS BULLETIN OF BURMA RESEARCH 5: 51-112.
(http://www.soas.ac.uk/sbbr/editioons/file64424.pdf). Viewed on 10 October 2014.

Foo Ming Liew-Harres, Volker Grabowsky, Reenoo Wichasin. 2012. Chronicle of SIPSONGPANNA: History and Society of a Tai Lũ Kingdom, Twelfth to Twentieth Century. Chiang Mai: Mekong Press.

MA JIANXIONG. 2011. “Shaping of the Yunnan-Burma Frontier by Secret Societies since the End of the 17th Century. Moussons Research en sciences humaines sur l’Asie du Sud-Est 17: 65-84.

Ni Tui.1992. The Chronicles of Yunnan (1846). Kunming: Yunnan University Press. Quoted from MA JIANXIONG.
2011. “Shaping of the Yunnan-Burma Frontier by Secret Societies since the End of the 17th Century. Moussons Researche en sciences humaines sur l’Asie du Sud-Est 17: 71.

Zhuang, Jifa.1982. Research on the Military Feat of Qing Gaozong. Taipei: the Forbidden City Museum. Quoted from MA JIANXIONG. 2011. “Shaping of the Yunnan-Burma Frontier by Secret Societies since the End of the 17th Century. Moussons Researche en sciences humaines sur l’Asie du Sud-Est 17: 71.

บุญชู (สายสิทธิ) ตันเลิศ. อายุ 60 ปี. อาชีพชาวนา .บ้านกุงใหญ่ ตำบลกุศกร อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี. 1981.

ผ่องศรี สุวรรณกูฎ. อายุ 83 ปี. บ้านผ่องศรี สุวรรณกูฎ ถนนพิชิตรังสรรค์ ตำบล ในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี. 23 พฤษภาคม 2012.

พระอธิการบุญมาก จารุวัณโณ. วัดเก่าบ้านแค ตำบลคำขวาง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. 31 พฤษภาคม 2013.

พลา (สิงหัษฐิต) ณ อุบล.อายุ 83 ปี. บ้านสิงหัษฐิต ถนนพิชิตรังสรรค์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี . 23 พฤษภาคม 2012.

เมธี เมธาสิทธิ สุขสำเร็จ.อายุ 38 ปี.คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตำบลเมืองศรีไค อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. 11 กุมภาพันธุ์ 2012.