ทัศนคติของบุคลากรในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ต่อเพศภาวะในสังคมไทย

Main Article Content

สมพร รุ่งเรืองกลกิจ
เนตรชนก แก้วจันทา
ชมพูนุท กาบคำบา
อิงคฏา โคตนารา

บทคัดย่อ

                  งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจทัศนคติของบุคลากรในมหาวิทยาลัย แห่งหนึ่งต่อเพศภาวะ กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จำนวน 188 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบมีระบบ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสำรวจทัศนคติต่อเพศภาวะ แบ่งออกเป็น 5 ด้านคือ 1) บรรทัดฐานความเป็นผู้หญิง/ผู้ชายไทย 2) บทบาทผู้หญิงกับผู้ชายไทยในครอบครัว 3) บทบาทผู้หญิงกับผู้ชายไทยในชุมชน/ในที่ทำงาน 4) ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ และ 5) บทบาทผู้หญิงกับผู้ชายไทยเรื่องเพศ คำตอบเป็นตัวเลือกมี 5 ระดับ จาก 1 (ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง) ถึง 5 (เห็นด้วยอย่างยิ่ง) ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเพศชายมีค่าคะแนนในลักษณะชายเป็นใหญ่มากกว่ากลุ่มตัวอย่างเพศหญิง ทั้ง 5 ด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.05) มหาวิทยาลัยควรกำหนดวิสัยทัศน์และแผนยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมและสนับสนุนความเสมอภาคทางเพศภาวะ

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research paper)

References

นาถฤดี เด่นดวง. เพศ (sex) ความเป็นหญิงความเป็นชาย (gender) การขัดเกลาทางสังคม (socialization) และความเสมอภาคหญิงชาย (gender equality). http://www.owf.go.th/wofa/modules/website/upload/news/5c80f2a87a7d0751dc11d603434d2f2b.pdf. 18 สิงหาคม 2559.

ประหยัด สายวิเชียรและวาณี เอี่ยมศรีทอง. 2538. รายงานการวิจัยเรื่องการดำเนินชีวิตในครอบครัวกับความเครียดในการทำงาน. เชียงใหม่ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วันทนีย์ วาสิกะสิน และ สุนีย์ เหมะประสิทธิ์. 2541. สังคมไทยคาดหวังอย่างไรกับผู้หญิง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศูนย์สาธารณประโยชน์และประชาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. 2555. รายงานผลการสำรวจเจตคติของประชาชนด้านความเสมอภาคหญิงชาย ฉบับสมบูรณ์. http://www.gender.go.th/research/rsdoc/att/content_
attitude_2555.pdf. 5 กุมภาพันธ์ 2557

สมพร รุ่งเรืองกลกิจ, จิราพร เขียวอยู่, วราลักษณ์ กิตติวัฒน์ไพศาล และอิงคฏา โคตรนารา. 2557. “การพัฒนาเครื่องมือประเมินทัศนคติต่อเพศภาวะ”. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ 37 (4): 1-12.

______________, วราลักษณ์ กิตติวัฒนไพศาล, อิงคฏา โคตนารา และ สุวรรณา อรุณพงศ์ไพศาล. 2555. “โรคซึมเศร้าวิเคราะห์ผ่านมุมมองเพศภาวะ”. วารสารพยาบาลศาสตร์ และ สุขภาพ 35 (4): 21-30.

สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์. 2550. คู่มือการวิเคราะห์เชิงมิติหญิงชาย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค.

_________________. 2552. มาตรฐานและตัวชี้วัดความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย. กรุงเทพฯ: บิสิเนส อินฟอร์เมชัน พับลิซิตี จำกัด.

____________________และ โตรงการสตรีและเยาวชนศึกษา. มาตรฐานและตัวชี้วัด ความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย.
http://www.gender.go.th/publication/book/Standards%20and%20Indicators.pdf. 18 สิงหาคม 2559.

สำนักบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. 2556. สถิติผู้มารับบริการในศูนย์พึ่งได้ ในปีพ.ศ. 2547 - พ.ศ. 2554. http://www.phdb.moph.go.th/ewtadmin/ewt/hss_webserv/download/data_centeer56/indexhtml. 1 กันยายน 2556.

สุชีลา ตันชัยนนท์. 2540. สถานการณ์โรคเอดส์: ความหมายของเพศธรรมที่กำลังเปลี่ยนไป. ในเอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชาทฤษฎีเฟมินิสต์และทฤษฎีเพศ. นครปฐม: ภาควิชาสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุวัฒนา วิบูลย์เศรษฐ์. 2538. การศึกษาความสัมพันธ์ของประชากรต่างวัยในครอบครัว ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. สถาบันประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อวยพร เขื่อนแก้ว. 2555. เส้นทางสู่การเปลี่ยนแปลง: เพศและความเป็นธรรมบนฐานจิตวิญญาณและการเรียนรู้ด้วยหัวใจ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา.

Allanana, G.M. 2013. “Patriarchy and gender inequality in Nigeria: The way forward”. European Scientific Journal 9(17): 115-144.

Astbury, J. Gender and mental health. http://www.globalhealth.harvard.edu/hcpds/wpweb/gender/astbury.pdf, 16 กุมภาพันธ์ 2550.

Chan, J. D. 2009. “Male Gender Role Strain” : A Pastoral Assessment. Doctor of Theology: University of Stellenbosch.

Ickes, W. 1993. “Traditional gender roles: Do they make, and then break, our relationship?”. Journal of Social Issues 49(3): 71-85.

Jakobsson, N. & Kotsadam, A. 2009. “Do attitudes toward gender equality really differ between Norway and Sweden?”. Working paper in economics. No. 352.

Marinova, J. 2003. “Gender stereotypes and the socialization process”. Paper presented for Expert Group Meeting on “the role of men and boys in achieving gender equality.” 21-24 October 2003 Brasilia, Brazil.

O’Sullivan, S. 2012. “All changed, changed utterly? Gender role attitudes and the feminization of the Irish labour force”. Women’s Studies International Forum doi:10.1016/j.wsif.2012.03.020

Robbins, A. 2006. “Biopsychosocial aspects in understanding and treating depression in men: a clinical perspective”. Journal of Men's Health and Gender 3(1), 10-18.

Tu, S. & Chang, Y. 2000. Women ‘s and men’s gender role attitudes in coastal China and Taiwan, Paper presented for East Asain Labor Markets Conference at Yonsei University, Seoul, Korea, February 24, 2000.

World Health Organization. 2009. Gender mainstreaming for health managers: a practical approach. Geneva.