การพยากรณ์ความต้องการสินค้าผลไม้แปรรูปเพื่อการวางแผนการผลิต กรณีศึกษา บริษัท XYZ จำกัด
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อหาวิธีการพยากรณ์ยอดขายที่เหมาะสมสำหรับการพยากรณ์ยอดขายผลไม้แปรรูปทอดกรอบสุญญากาศและศึกษาถึงประเภทของผลไม้ที่แตกต่างกัน (กล้วย มะม่วง ขนุน และสับปะรด) ส่งผลต่อการเลือกใช้วิธีการการพยากรณ์ที่แตกต่างกันหรือไม่ จากกรณีศึกษา บริษัท XYZ จำกัด ซึ่งในงานวิจัยได้เลือกใช้วิธีการพยากรณ์ 5 รูปแบบ ซึ่งประกอบไปด้วยวิธีการพยากรณ์ วิธีค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ วิธีค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ถ่วงน้ำหนัก วิธีแบบปรับเรียบเอกซ์โปเนนเชียล วิธีการปรับเรียบเอ็กซ์โปเนนเชี่ยลซ้ำสองครั้งและวิธีปรับเรียบแบบโฮลต์-วินเทอร์ โดยวัดค่าความผิดพลาดในการพยากรณ์ด้วยวิธีค่าเบี่ยงเบนสัมบูรณ์เฉลี่ย ซึ่งผลจากการทดสอบวิธีการพยากรณ์นั้นได้ผลลัพธ์ว่าวิธีการพยากรณ์แบบปรับเรียบเอกซ์โปเนนเชียล มีค่าความผิดผลาดน้อยที่สุดสำหรับการพยากรณ์ยอดขายผลไม้ทอดกรอบสูญญากาศ ทั้ง 4 ชนิด
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารบริหารธุรกิจมีทั้งเเบบวารสารออนไลน์เเละวารสารเล่มฉบับ
** บทความหรือข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ฉบับนี้ เป็นความคิดเห็นเฉพาะผู้เขียนบทความแต่ละท่าน กองบรรณาธิการวารสารบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เปิดเสรีด้านความคิดและไม่ถือเป็นความรับผิดชอบของ
กองบรรณาธิการ **
** บทความที่ได้ลงตีพิมพ์ในวารสารฉบับนี้ เป็นลิขสิทธิ์ของคณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความแต่ต้องอ้างอิงแสดงที่มาของวารสารที่นำไปคัดลอกให้ชัดเจน**
References
เกียรติขจร ไชยรัตน์. (2564). แนวคิด S–CURVE ระดับมหภาคและจุลภาคกรณีศึกษาอุตสาหกรรมใหม่ (NEW S–CURVE) อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์. วารสารศิลปศาสตร์ มทร.กรุงเทพ, 3(1), 100-111.
ไทยรัฐออนไลน์. (2564, กันยายน). เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารให้ยั่งยืน มุ่งเป็นครัวโลก. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2566, จาก https://www.thairath.co.th/news/politic/2201848
มนัสนันท์ แจ่มศรีใส, เฟื่องอรุณ ปรีดีดิลก และอัจฉรา ศรีพันธ์. (2563). การวิเคราะห์สภาพปัจจุบันของผลิตภาพ
การผลิตในอุตสาหกรรมผลไม้แปรรูปของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 12(1), 297-313.
สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์. (2565). อัตราเงินเฟ้อของไทยชะลอตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 3. สืบค้นเมื่อ 26 ธันวาคม 2565, จากhttps://www.price.moc.go.th/price/fileuploader/file_admin_sum/indices_all.pdf
ฤทธิชัย อัศวราชันย์ และ เสมอขวัญ ตันติกุล. (2564). การทบทวนวรรณกรรมเรื่อง : เทคโนโลยีการทอดสุญญากาศ.
วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา, 5(2), 124-236.
จิราพร ภู่ทองคำ และ ถิรนันท์ ทิวาราตรีวิทย์. (2564). การพยากรณ์ความต้องการของวัตถุดิบเพื่อลดการเสียโอกาส
ทางการขาย กรณีศึกษา ร้าน Pizza Huk T&J. วิทยาการจัดการวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 2(3), 20-31.
ประจักษ์ พรมงาม. (2563). การปรับปรุงประสิทธิผลการพยากรณ์ความต้องการของผู้บริโภคกรณีศึกษาบริษัท เอกชนแห่งหนึ่ง จํากัด. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.สุวรรณภูมิ, 4(2), 24-35.
กัลยา วาณิชย์บัญชา. (2553). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จำกัด.
ยุพาภรณ์ อารีพงษ์. (2545). การเลือกเทคนิคการพยากรณ์สำหรับงานวิจัย. วารสารสุทธิปริทัศน์, 16(49), 58-67.
ศิริวรรณ สัมพันธมิตร, วรรณดา สมบูรณ์, กนกวรรณ สังสรรค์ศิริ, และเสาวนิตย์ เลขวัต. (2564). การพยากรณ์ความต้องการใช้กาวดักแมลงวัน. วารสารข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการไทย, 7(1), 55-67.
ธันย์ชนก จันทร์หอม และ อมรินทร์ เทวตา. (2565). การพยากรณ์แบบอนุกรมเวลา เพื่อกำหนดการสั่งซื้อที่
ประหยัดที่สุดของโรงงานผลิตยางซิลิโคนแห่งหนึ่ง. วารสารวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน, 8(2), 28-49.
วริศ ลิ้มลาวัลย์, ศิรัตน์ แจ้งรักษ์สกุล และคุณากร วิวัฒนากรวงศ์. (2565). การเปรียบเทียบวิธีพยากรณ์เพื่อเพิ่ม
ความแม่นยำในการพยากรณ์ยอดขาย: กรณีศึกษาบริษัทผลิตขวดน้ำพลาสติกแห่งหนึ่งในประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์, 36(2), 18-34.
รัชนีวรรณ สันลาด, จุฑามาศ คํานาสัก, นครินทร์ แปงแก้ว, ภัทราพร ท้าวขว้าง และอนาวิล ทิพย์บุญราช. (2565).
การพยากรณ์ความต้องการผลผลิตผักออร์แกนิกในจังหวัดลําปาง : กรณีศึกษา ใบบุญบ้านสวนผัก ลําปาง. วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา, 6(2), 48-56.
รัชฎา แต่งภูเขียว และ ณัฐนันท์ อิสสระพงศ์. (2562). การวิเคราะห์เปรียบเทียบวิธีการพยากรณ์สำหรับการวางแผนการผลิต กรณีศึกษา บริษัทผลิตเนื้อโคขุน จังหวัดนครพนม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 13(3), 222-232.
นรวัฒน์ เหลืองทอง และ นันทชัย กานตานันทะ. (2558). การพยากรณ์ผลผลิตการเกษตรด้วยวิธีอนุกรมเวลา. วารสารข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการไทย, 1(1), 7-13.
ธงชัย แสงสุวรรณดี และ สกนธ์ คล่องบุญจิต. (2564). การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคลังสินค้า ด้วยเทคนิค ABC และ การพยากรณ์กรณีศึกษาระบบการจัดเก็บสินค้า. วิศวสารลาดกระบัง, 38(4), 13-22.