การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้านที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ ในรายวิชาเทคโนโลยีหุ่นยนต์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
Main Article Content
บทคัดย่อ
ก
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบสุ่มกลุ่ม เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน 2) แบบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้านที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ มีประสิทธิภาพ 82.13/80.35 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด คุณภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.61 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.34
2) ผลการเปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีคะแนนเฉลี่ย 25.47 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 84.9
3) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีคะแนนเฉลี่ย 25.8 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 86
Downloads
Article Details
References
จตุรภัทร มาศโสภา, ธานทิพย์ ขุนทอง และบุษยารัตน์ จันทร์ประเสริฐ. (2564). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ประเด็นวิทยาศาสตร์ กับสังคมร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้านเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(2), 1-15. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JRKSA/article/view/252220
มลศิริ เหมะรักษ์, จรินทร อุ่มไกร และไกยสิทธิ์ อภิระติง. (2566). การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านผ่านคลาวน์เลิร์นนิงเพื่อเสริมสร้างทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 16(2), 25-37. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/journal_sct/article/view/259028
ศักดิ์ศรี สืบสิงห์ และเฉลิมพร สืบสิงห์. (2565). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการแก้ปัญหาทางวิทยาศาตร์. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรี, 8(2), 14-24. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/DRURDI/article/view/252000
สำเนา หมื่นแจ่ม. (2562). การพัฒนาการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น. [โครงการสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)] มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. http://www.cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/1966
อรชา เอี่ยมบู่, ไพศาล หวังพานิช และสงวนพงศ์ ชวนชม. (2563). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการ เรียนรู้ 7 ขั้น ร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามกระตุ้นการคิดระดับสูง. สิกขาวารสารศึกษาศาสตร์, 7(2), 41-51. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/sikkha/article/view/202858
Utami, WW., Slamin.& Dafik. (2024). The development of RBL-STEM learning materials to promote the students analytical thinking skills in solving convolutional neural network problems. World Journal of Advanced Research and Reviews, 21(1), 2204-2205 http://doi.org/10.30574/wjarr.2024.21.1.0099