ทักษะการรู้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษา ในสังคมแห่งการเรียนรู้

Main Article Content

อภิสิทธิ์ คุณวรปัญญา
อภิชา พรหมแสง

บทคัดย่อ

บทความทางวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอสาระสำคัญด้านทักษะการรู้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับ การปฏิบัติงานในสังคมแห่งการเรียนรู้ ซึ่งล้วนแล้วแต่มีความจำเป็นสำหรับบุคลากรทางการศึกษา ทั้งทางด้านแนวคิด ทฤษฎี บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งจากการศึกษาดังกล่าวพบองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและทักษะการรู้เทคโนโลยีดิจิทัลของบุคลากรทางการศึกษา ประกอบด้วยการเข้าถึงสารสนเทศ การจัดการสารสนเทศ การบูรณาการสารสนเทศ การประเมินสารสนเทศ การสร้างสรรค์สารสนเทศ การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ และการยกระดับการเรียนรู้ โดยบุคลากรทางการศึกษาจะต้องมีสมรรถนะในการการเข้าใจ การใช้ การแก้ปัญหา และ การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีดิจิทัล

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Articles

References

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2565). แผนด้านการอุดมศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศ พ.ศ. 2564 - 2570 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2566 – 2567). บริษัท ภาพพิมพ์ จำกัด.

กันตินันท์ เฮงสกุล, พระมหา. (2564). เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและวิจัย, 3(1), 1-10. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jemri/article/view/250590

ณัฐวัฒน์ ด้วนฉุน. (2565). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผ่านชุมชนเรียนรู้วิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมความสามารถในด้านการสอน สำหรับนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมในสถาบันอุดมศึกษา. [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พัทธนันท์ หรรษาภิรมย์โชค. (2558). องค์กรแห่งการเรียนรู้. มิตรเจริญการพิมพ์.

พัลลภ พิริยะสุรวงศ์. (2543). เทคโนโลยีสารสนเทศกับการปฏิรูปการศึกษา. วารสารพัฒนาเทคนิคการศึกษา, 13(4), 39-41.

พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์. (2567, 17 สิงหาคม). เทคโนโลยีดิจิทัล ตอบโจทย์สังคมได้อย่างไร?. สภาการสื่อสารมวลชนแห่งชาติ. https://www.presscouncil.or.th/7918

มิ่งขวัญ คงเจริญ. (2564). ชุดการเรียนรู้: สังคมแห่งการเรียนรู้ (Learning Society). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. https://anyflip.com/blbfg/twor/

ยุภาวดี พรมเสถียร และธีรชัย เนตรถนอมศักดิ์. (2564). เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยพัฒนาการเรียนการสอนได้จริงหรือไม่?. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 15(3), 1-13. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/rmuj/article/view/256210

ยืน ภู่วรวรรณ. (2564). ชีวิตวิถีใหม่และความฉลาดทางดิจิทัล. สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วรวงค์ รักเรืองเดช, (2564, 8 ธันวาคม). 4 ความเปลี่ยนแปลง ยุคโควิด-19 สู่การปรับตัว Next Normal. กรุงเทพธุรกิจ. https://www.bangkokbiznews.com/social/976332

วุฒิสาร ตันไชย, (2566, 8 พฤษภาคม). กสศ. ร่วมสร้าง ‘เมืองแห่งการเรียนรู้’ สู่สังคมแห่งความเสมอภาค กระจายอำนาจการศึกษาเพื่อทางเลือกที่หลากหลาย. กสศ., https://www.eef.or.th/news-abe-080523/

สำนักงานเลขาธิการการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). AI เพื่อพัฒนาการเรียนรู้. บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด

สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2562). กรอบสมรรถนะด้านดิจิทัลสำหรับพลเมืองไทย.

สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580). (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570).

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.

เอกรักษ์ ปาร์มวงศ์. (2559). รูปแบบการบริหารการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการทำงานของครูอาชีวศึกษาเอกชน. [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.

Nitjaree, W. (2020, 18 May). Internet of Things (IOT). คลังความรู้. http://km.prd.go.th/iot-platform/