การพัฒนากิจกรรมการสอนเสริมโดยใช้วีดิทัศน์ 360 องศาแบบมีปฏิสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคลสำหรับนักเรียนอนุบาล

Main Article Content

อัญนิสา ศิริพันธุ์
เนาวนิตย์ สงคราม

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการสอนเสริมโดยใช้วีดิทัศน์ 360 องศาแบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคลสำหรับนักเรียนอนุบาล 2) เพื่อศึกษาผลการใช้กิจกรรมการสอนเสริมโดยใช้วีดิทัศน์ 360 องศาแบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคลสำหรับนักเรียนอนุบาล 3)เพื่อนำเสนอกิจกรรมการสอนเสริมโดยใช้วีดิทัศน์ 360 องศาแบบมีปฏิสัมพันธ์ตามแนวทางการออกแบบวีดิทัศน์ 360 องศาแบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคลสำหรับนักเรียนอนุบาล กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนอนุบาล ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 30 คน การวิจัยครั้งนี้เป็นการทดลองแบบกลุ่มเดียว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดกิจกรรมการสอนเสริม จำนวน 3 แผน โดยใช้สื่อวีดิทัศน์ 360 องศาแบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคลสำหรับนักเรียนอนุบาลเป็นสื่อการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบวัดพฤติกรรมการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้ข้อมูลทางสถิติ หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์สื่อการเรียนรู้ ผลการศึกษาพบว่า หลังการทดลองนักเรียนอนุบาลมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลสูงกว่าก่อนการทดลองทั้ง 3 ด้าน คือ การดูแลความสะอาดของมือ การดูแลความสะอาดของช่องปาก และการดูแลค การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการสอนเสริมโดยใช้วีดิทัศน์ 360 องศาแบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคลสำหรับนักเรียนอนุบาล 2) เพื่อศึกษาผลการใช้กิจกรรมการสอนเสริมโดยใช้วีดิทัศน์ 360 องศาแบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคลสำหรับนักเรียนอนุบาล 3)เพื่อนำเสนอกิจกรรมการสอนเสริมโดยใช้วีดิทัศน์ 360 องศาแบบมีปฏิสัมพันธ์ตามแนวทางการออกแบบวีดิทัศน์ 360 องศาแบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคลสำหรับนักเรียนอนุบาล กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนอนุบาล ชั้นอนุบาล 3 โรงเรียนบ้านช่องแมว จังหวัดปัตตานี จำนวน 30 คน ได้มาด้วยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดกิจกรรมการสอนเสริม จำนวน 3 แผน โดยใช้สื่อวีดิทัศน์ 360 องศาแบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคลสำหรับนักเรียนอนุบาลเป็นสื่อการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบวัดพฤติกรรมการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้ข้อมูลทางสถิติ หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูล เชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์สื่อการเรียนรู้
ผลการศึกษาพบว่า 1) ผลการพัฒนากิจกรรมการสอนเสริมโดยใช้วีดิทัศน์ 360 องศาแบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อ ส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคลสำหรับนักเรียนอนุบาล มีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมความสามารถในการดูแลสุขวิทยา ส่วนบุคคลของนักเรียนอนุบาลหลังการทดลองอยู่ในระดับดีมากทั้ง 3 ด้าน คือการดูแลความสะอาดของมือ การดูแลความสะอาดของช่องปาก และการดูแลความสะอาดของร่างกาย 2)ผลการศึกษาการใช้กิจกรรมการสอนเสริมโดยใช้ วีดิทัศน์ 360 องศาแบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคลสำหรับนักเรียนอนุบาล หลังการทดลองนักเรียนอนุบาลมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลสูงกว่าก่อนการทดลองทั้ง 3 ด้าน อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผลการนำเสนอกิจกรรมการสอนเสริมโดยใช้วีดิทัศน์ 360 องศาแบบมีปฏิสัมพันธ์ตามแนวทางการออกแบบวีดิทัศน์ 360 องศาแบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคลสำหรับนักเรียนอนุบาลวามสะอาดของร่างกาย

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือปฏิบัติสำหรับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19. http://maung.ptho.moph.go.th/web/doc/covid19_stu.pdf

ณัฐนิชา มณีพฤกษ์. (2563). เทคโนโลยีดิจิทัลสร้างสรรค์กับการจัดกิจกรรมศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 33,(3), 1-14. https://so02.tcithaijo.org/index.php/edupsu/article/view/251234

ณัฐวดี ปิตตาทะโน.(2561). ผลของกิจกรรมการเล่านิทานประกอบหนังสือภาพกับการชมวีดิทัศน์นิทานที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย.วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 22(3), https://so05.tci-thaijo.org/index.php/suedureasearchjournal/article/view/159762

ปานอาภา วีชะรังสรรค์.(2566). การพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2/2 โรงเรียนทุ่งมหาเมฆ โดยใช้วีดิทัศน์เพื่อการสอนทางไกล.วารสารวิชาการ ครุศาสตร์สวนสุนันทา,7(1), https://so04.tci-thaijo.org/index.php/ssru-edu/article/view/263024

ปิยะณัฐ อักษรดี.(2564). การสร้างสื่อการเรียนรู้ผ่านวิดีโอแบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถจําการใช้คําประกอบการสนทนาภาษาอังกฤษ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร. Journal of Roi Kaensarn Academi,6(7), https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JRKSA/article/view/248720

สมจิตต์ สินธุชัย. (2561). การเสริมต่อการเรียนรู้: การประยุกต์ใช้สำหรับการเรียนการสอนในคลินิก. ราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์, 27(2), https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnsurin/article/download/167925/120937

สรวงมณฑ์ สิทธิสมาน. (2560). การบริหารจัดการสื่อดิจิทัลเพื่อเด็กปฐมวัย.วารสารการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร, 10(1), http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789

หฤษฎ์ เชิดชู.(2561). กระบวนการสร้างประสบการณ์ให้กับผู้บริโภคผ่านสื่อโฆษณาแบบ 360 องศา จากมุมมองของผู้ผลิตสื่อโฆษณาในประเทศไทย. [การค้นคว้าอิสระ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]. http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789

Conole, G. and Fill, K. (2005). A learning design toolkit to create pedagogically effective learning activities. Journal of Interactive Media in Education (Advances in Learning Design). Special Issue,eds. https://www.researchgate.net/publication/42795860_A_learning_design_toolkit_to_create_pedagogically_effective_learning_activities

Kaewon, K. (2019). Effect of science learning management using video media on Changes of substances for 5th grade students. Journal Of Industrial Education, 21(3). https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JIE/article/view/249230

Khienchanad, T., & Kongklam, U. (2019). Factors affecting english language learning achievement of lower secondary school students under the office of secondary educational service area 8. Mahamakut Graduate School Journal, 17(1), 222-235. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/mgsj/article/view/212471

Khotchum, A. (2019). Development of video learning materials for occupations and technology course garden design and decoration for Mattayom Seuksa 2 Level. Journal of Project in Computer Science and Information Technology, 5(2), 67-76. https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/project-journal/article/view/204222

Saenboonsong, S., Emrat, N., & Jantrasi, S. (2018). The development of multimedia for learning on search engine of seventh grade students at Wat Phrakhao School, Phranakhon Si Ayutthaya. Journal of Learning Innovation, 4(2), 1-15. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jliwu/article/view/139192

Vygotsky, L. S. (1978). Mind in society: The development of higher psychological process. Cambridge, MA: Harvard University Press.