ตัวแบบการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมของนักเรียนโรงเรียนสาธิต ระดับมัธยมศึกษา จังหวัดนครปฐม
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างตัวแบบการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมของนักเรียนโรงเรียนสาธิต ระดับมัธยมศึกษา จังหวัดนครปฐม เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสังเคราะห์ผลงานวิจัยในแผนงานวิจัย และวิเคราะห์เนื้อหาการสัมภาษณ์ระดับลึกจากผู้ให้ข้อมูลหลัก โดยการเลือกแบบเจาะจง ซึ่งเป็นผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง และนักเรียนโรงเรียนสาธิต ระดับมัธยมศึกษา จังหวัดนครปฐม รวม 15 คน ผลการวิจัยพบว่า
1) ตัวแบบการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมของนักเรียนโรงเรียนสาธิต ระดับมัธยมศึกษา จังหวัดนครปฐม ที่สร้างขึ้นประกอบด้วย เป้าหมายการจัดการเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ และการประเมินผล การเรียนรู้ โดยมีเงื่อนไขในการพัฒนาทักษะ ประกอบด้วย มาตรฐานการศึกษา สถานศึกษา สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ และผู้เรียน 2) แนวทางการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมของนักเรียนโรงเรียนสาธิต ระดับมัธยมศึกษา จังหวัดนครปฐม ประกอบด้วย การจัดกิจกรรมที่เชื่อมโยงผู้เรียนกับสังคม การส่งเสริมการทำงานกลุ่ม การสนับสนุนการแสวงหาความรู้ การพัฒนาทักษะภาษาและการสื่อสาร การเชื่อมโยงกิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตรตามความพร้อมและความต้องการ และการสนับสนุนทรัพยากรในการจัดการเรียนรู้
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ทัศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นพพร จันทรนำชู, ยุวรี ผลพันธิน, และพรรณธิดา เหล่าพวงศักดิ์. (2558). รายงานการวิจัย เรื่อง รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนในภูมิภาคตะวันตก. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. (2557). ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2560, จาก http://www.qa.kmutnb.ac.th/qa.
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. (2563). ปรัชญา/วิสัยทัศน์/พันธกิจ. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2563, จาก http://st.npru.ac.th/index.php/login/2014-05-29-06-26-44.
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2556). การจัดทำยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เกิดความรับผิดชอบ. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). การขับเคลื่อนการบูรณาการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมในระดับพื้นที่และภาค ปี 2562. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.nesdc.go.th/ewt_w3c/ewt_news.php?Filename=&nid=9563
Aslan, A., & Zhu, C. (2017). Investigating variables predicting Turkish pre-service teachers' integration of ICT into teaching practices. British Journal of Educational Technology. 2: 552 - 570.
Bandura, A. (2001). Social cognitive theory: An Agentic Perspective. Annual Review of Psychology. 52: 1-26. Retrieved 20 May 2002, from https://doi.org/10.1146/annurev.psych.52.1.1.
Barrett, P., Davies, F., Zhang, Y., & Barrett, L. (2015). The impact of classroom design on pupils' learning: Final results of a holistic, multi-level analysis. Building and Environment. 89: 118 - 133.
Beck, R. C. (2004). Motivation: Theories and principles. (15th ed.). New Jersey: Pearson Education.
Cohen, E. G., & Logan, R. A. (2014). Designing groupwork: Strategies for the heterogeneous classroom. Teachers College Press.
Dweck, C. S. (2006). Mindset: The new psychology of success. Random House.
Elliot, A. J., & Dweck, C. S. (2005). Competence and motivation: Competence as the core of achievement motivation. In A. J. Elliot & C. S. Dweck (Eds.), Handbook of competence and motivation (pp. 3-12). Guilford Press.
Franken, R. E. (2007). Human motivation. (6th ed.). California: Thomson Wadsworth.
Fraser, J. B. (2015). Environments for education. WA Australia: Science and mathematics education centre.
Great School Partnership. (2013). Learning Management. Retrieved 20 May 2021, from shorturl.at/ pCFG8.
International Society for Technology in Education Students. (2007). ISTE students' standards. Retrieved 20 May 2021, from https://www.iste.org/docs/pdfs/20-14_ISTE_Standards-S_PDF.pdf
Jhangiani, R., Tarry, H., & Stangor, C. (2014). Principles of Social Psychology. BCcampus.
Johnson, D. W., & Johnson, R. T. (2009). An educational psychology success story: Social interdependence theory and cooperative learning. Educational Researcher. 38(5): 365 - 379.
Lynch, D. (2012). Preparing teachers in times of change: teaching schools, new content and evidence. Tarragindi: Primrose Hall Publishing.
McClelland, D. C. (1985). How motives, skills, and values determine what people do. American Psychologist. 40(7): 812 - 825. Retrieved 20 May 2021, from https://doi.org/10.1037/0003- 066X.40.7.812.
Mouza, C. (2008). Learning with laptops: Implementation and outcomes in an urban, under privileged school. Journal of Research on Technology in Education. 41(3): 337 - 356.
Sahin, M. C. (2009). Instructional design principles for 21st - century learning skills. Procedia - Social and Behavioral Sciences. 1(1): 1464 – 1468. DOI:10.1016/j.sbspro.2009.01.258
Sang, W. K. (2014). Samsung: Smarts skills, smart future - Business Brief, OECD Yearbook 2014. Retrieved 20 May 2021, from http://www.oecd.org/forum/oecdyearbook/Samsung-smart-skills-martfuture.htm.
Smith, R., & Lynch, S. (2010). Rethinking teacher education: Teacher education in a knowledge age. Sydney: AACLM Press.
The Partnership for 21st Century Learning. (2017). Framework for 21st Century Learning. Retrieved 20 May 2021, from http://www.p21.org/our-work/p21- framework. Tomlinson, C. A., Brighton, C., Hertzberg, H., allahan, C. M., Moon, T. R., Brimijoin.
Tomlinson, C. A., Brighton, C., Hertberg, H., Callahan, C. M., Moon, T. R., Brimijoin, K., & Reynolds, T. (2003). Differentiating instruction in response to student readiness, interest, and learning profile in cademically diverse classrooms: A review of literature. Journal for the Education of the Gifted. 27(2-3): 119 - 145.