ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1

Main Article Content

ณัฐนนท์ เฟื่องนคร
สุภาวดี ลาภเจริญ

บทคัดย่อ

การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ตามการรับรู้ของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 โดยจำแนกตามวิทยฐานะกลุ่มโรงเรียน และประสบการณ์การทำงาน ครูจำนวน 306 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.60 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่น 0.985 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า


            1) การรับรู้ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชลบุรี เขต 1 โดยภาพรวมและรายด้านในระดับมาก 2) ครูที่มีระดับวิทยฐานะ กลุ่มโรงเรียน และประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีการรับรู้ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน

Article Details

How to Cite
เฟื่องนคร ณ. ., & ลาภเจริญ ส. . (2024). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1. วารสารครุศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 7(3), 200–210. https://doi.org/10.2774.EDU2024.3.267827
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: องค์การรับรองสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

_______. (2560). เอกสารประกอบการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรี และราชกิจจานุเบกษา.

เข็มนิษฐา พิมพ์ชื่น. (2565). ภาวะผู้นําทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทราเขต 1. การศึกษาอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ธนิต รัตนศักดิ์ดา. (2565). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยเกริก.

พงศ์เทพ เขม้นกสิกรรม. (2563). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ตามการรับรู้ของครูสังกัดองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดสมุทรปราการ. การศึกษาอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

มะไซดี อับดุลกอเดร์. (2565). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานราธิวาส. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

ยามีละห์ สุกี. (2565). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1. (2565). รายงานการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2565. ชลบุรี: ผู้แต่ง.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2560-2579. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

Brooks, J. S., & Normore, A. H. (2018). Foundation of Educational Leadership: Developing Excellent and Equitable Schools. New York: Routledge.

Cohen, L., Manion, L., & Morrison, K. (2011). Research Methods in Education. (7th ed.). New York: Routledge.

Irfan, B., & Usman, K. (2017). Instructional Leadership at University Level in Pakistan: A Multi Variable Based Comparative Study of Leadership Styles of Heads of The Instructional Departments. Bulletin of Education and Research. 39(1): 175 - 186.

Mehrnaz, F., Idris, K., & Shakib, S. K. (2016). Instructional leadership and instructor development: A case study of Malaysia’ research universities. Malaysian Journal of Society and Space. 12(10): 101 - 112.

Silaphong, C., Pawabutra, C., & Ngoipoothon, R. (2021). The instructional leadership ofadministrators affecting effectiveness of academic administration in schools under the office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area 1. Journal of Educational Administration and Leadership. 9(36): 144 - 153.