ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สหวิทยาเขตปิยมิตร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปทุมธานี
Main Article Content
Abstract
The research article entitled the ethical leadership of school administrators of Piyamit Consortium, under the Secondary Education Service Area Office, Pathum Thani aimed to 1) investigate the levels of ethical leadership of school administrators in Piyamit Consortium, under the Secondary Education Service Area Office, Pathum Thani and 2) compare the ethical leadership of school administrators in Piyamit Consortium, under the Secondary Education Service Area Office, Pathum Thani, based on gender, age, level of education, and number of years in the profession. This research is an exploratory research. The samples for this research were 226 teachers. The instrument used in this research was a questionnaire with the reliability value of 0.97. The statistics used for data analysis were mean, standard deviation, t-test and f-test statistics.
The results were 1) the levels of ethical leadership of school administrators in Piyamit Consortium, under the Secondary Education Service Area Office, Pathum Thani were at high levels, both in overall and each aspect in following order with the first one as the highest: responsibility, respectability, honesty, fairness, and reliability, and 2) the comparison of the ethical leadership of school administrators in Piyamit Consortium, under the Secondary Education Service Area Office, Pathum Thani revealed no significant different among teachers of different genders, age, levels of education, and numbers of years in the profession.
Keyword: ethical leadership, school administrators, ethics
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความนี้เป็นความคิดเห็นส่วนผู้แต่ง กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป
References
คำพร กองเตย,การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร,ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา, ๒๕๖๐.
ชลิตา แก่นจันทร์, การศึกษาการทำงานเป็นทีมของครูในโรงเรียน อำเภอบรรพตพิสัยสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2, การค้นคว้าอิสระ ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 2563.
ชัชวาล แก้วกระจาย, ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษามัธยมศึกษาสังกัด ศึกษาธิการ จังหวัดลพบุรี,วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 10 (3), 59, (2564,กรกฎาคม-กันยายน).
ณัฐริดา นิพนธ์, ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมกับบทบาทของผู้บริหาร สถานศึกษาในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1, วิทยานิพนธ์ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช , ๒๕๖๒.
นิ่มนภา อ่อนพุทธา, ความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงจริธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ในกลุ่มโรงเรียนเครือข่ายที่ 47 สังกัดสำนักงานเขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร, วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 18 (83), 36,(2564,ตุลาคม - ธันวาคม).
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579, กรุงเทพฯ พริกหวานกราฟฟิค,๒๕๖๐.
วันเฉลิม รูปสูง, ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตใน การทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2, วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราช ภัฏนครปฐม, ๒๕๖๒.
วิภาวดี อินทร์ด้วง, ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2, การค้นคว้า อิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ ธานี, ๒๕๖๒.
เอกภักดิ์ ฉ่ำมณี, ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมที่ส่งผลต่อการปฏิบัติปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ วิชาชีพ ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา หนองคาย, วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารและพัฒนา คุณภาพการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ๒๕๖๔.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W,Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30 (3) : 607 – 610, ๑๙๗๐.