ผลกระทบอัตราส่วนทางการเงินต่อราคาหลักทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์: กรณีประเทศไทยและอินโดนีเซีย

Main Article Content

อาภากร วนเศรษฐ

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบอัตราส่วนทางการเงินต่อราคาหลักทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ 2 ประเทศในอาเซียนที่มีมูลค่าทางตลาดใกล้เคียงกัน และเป็นกลุ่มตลาดหุ้นเอเชียที่มีแนวโน้มดี ซึ่งประกอบด้วย ประเทศไทยและประเทศอินโดนีเซีย อัตราส่วนที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย กำไรสุทธิต่อหุ้น อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น และอัตราส่วนราคาตลาดต่อกำไร การศึกษานี้ได้วิเคราะห์ข้อมูลหุ้นที่มีมูลค่าทางตลาด 100 อันดับแรกของตลาดหลักทรัพย์ทั้งสองประเทศ ระหว่างปี พ.ศ.2554-2558 โดยให้การวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ ผลการศึกษาพบว่า กำไรสุทธิต่อหุ้นมีผลกระทบเชิงบวกกับราคาหลักทรัพย์อย่างชัดเจน


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ภาษาไทย
กิตติมา อัครนุพงศ์. (2549). การบัญชีนานาชาติ: การเปรียบเทียบวิธีปฏิบัติการทางการบัญชีของประเทศต่าง ๆ. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 26(2), 143-158.
จุฑามาศ นันต๊ะราช. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินกับราคาตลาดหลักทรัพย์ของกลุ่มธนาคารที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (การศึกษาด้วยตนเอง). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. ปทุมธานี.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2556). ตลาดเงินและการลงทุนในหลักทรัพย์ (พิมพ์ครั้งที่17). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
ธัชวิน โอจรัสพร. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินหลักกับราคาหุ้นสามัญในกลุ่มธนาคารพาณิชย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (การศึกษาด้วยตนเอง). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่.
นิ่มนวล เขียวรัตน์. (2539). ผลกระทบของประกาศกำไรสุทธิทางบัญชีต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย: กรณีความแตกต่างในความพร้อมของข้อมูล. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.
ปัญญา สัมฤทธิ์ประดิษฐ์. (2545). การศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความสามารถ ของกำไรทางบัญชีและมูลค่าตามบัญชี ในการใช้อธิบายราคาหลักทรัพย์หุ้นสามัญ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์บัญชีดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.
มนตรี พิริยะกุล. (2544). Panel data analysis. วารสารรามคำแหง สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 30(2), 41-54.
มาโนช สูอำพัน. (2552). การศึกษาเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินและราคาตลาดของหลักทรัพย์ กรณีศึกษา : SET50 และ MAI. (การศึกษาด้วยตนเอง). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เมทินี ลิขิตบุญฤทธิ์. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนความสามารถในการทำกำไรกับราคาหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (การศึกษาด้วยตนเอง). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ยุพดี เกษมสุข. (2547). ความสัมพันธ์ของกำไรทางบัญชีกับการเปลี่ยนแปลงของราคาหลักทรัพย์กลุ่มพลังงาน. (งานวิจัยเฉพาะเรื่อง). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
รพีพรรณ แสงสานนท์. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินและราคาตลาดของหลักทรัพย์กลุ่มพลังงานที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (การศึกษาด้วยตนเอง). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
สภาวิชาชีบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (n.d.). Application of International Financial Reporting Standards (IFRS) and International Standards on Auditing (ISAs) in ASEAN. สืบค้นจาก
สมชาย สุภัทรกุล. (2554). ข้อมูลสำหรับการสื่อสารและการตัดสินใจทางธุรกิจ. TBS Series on Accounting Paradigm for Business Management กระบวนทัศน์วิชาชีพบัญชีเพื่อการบริหารธุรกิจ, 1(มกราคม)
ภาษาอังกฤษ
Anderson, D., Sweeney, D., and Williams, T. (2002). Statistics for Business and Economics. Thomson South-Western. Australia.
Abgineh, M. (2013). The Investigation of the Relation between Changes in Financial Ratios with Changes in Stock Returns on the Tehran Stock Exchange. J. Basic. Appl. Sci. Res, 3(2), 473-479.
Ball, R., & Brown, P. (1968). An empirical evaluation of accounting income numbers. Journal of accounting research, 159-178.
Basu, S. (1977). Investment performance of common stocks in relation to their price‐earnings ratios: A test of the efficient market hypothesis. The journal of Finance, 32(3), 663-682.
Beaver, W. H. (1968). The information content of annual earnings announcements. Journal of accounting research, 67-92.
Brown, S., and Schwarz, C. (2010). The Impact of Mandatory. Hedge Fund Portfolio Disclosure. Rossier School of Education Journal, Southern California
Chang, H. L., Chen, Y. S., Su, C. W., & Chang, Y. W. (2008). The relationship between stock price and EPS: Evidence based on Taiwan panel data. Economics Bulletin, 3(30), 1-12.
Dimitropoulos, P. E., & Asteriou, D. (2009). The relationship between earnings and stock returns: empirical evidence from the Greek capital market. International journal of economics and finance, 1(1), 40-50.
Malkiel, B. G., & Fama, E. F. (1970). Efficient capital markets: A review of theory and empirical work. The journal of Finance, 25(2), 383-417.
Hemadivya K. (2013). A Study on Relationship between Market Price & Earnings per Share with Reference to Selected companies. International Journal of Marketing, Financial Services & Management Research, 2(9).
Pushpa Bhatt, P., & Sumangala, J. K. (2012). Impact of Earnings per share on Market Value of an equity share: An Empirical study in Indian Capital Market. Journal of Finance, Accounting & Management, 3(2).
Stefano, K. (2015). The Impact of Financial Ratio toward Stock Return of Property Industry in Indonesia. iBuss Management, 3(2).
Wijaya, J. A. (2015). The effect of financial ratios toward stock returns among Indonesian manufacturing companies. iBuss Management, 3(2).