นโยบายการบัญชีที่เลือกได้ของรายการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ

Main Article Content

รศ.ดร.ศิลปพร ศรีจั่นเพชร
ผศ.อนุวัฒน์ ภักดี

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายที่มาของมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการ NPAEs แนวคิดการวัดมูลค่ายุติธรรม ต้นทุนและผลประโยชน์ของการเลือกใช้วิธีปฏิบัติทางบัญชี หลักการบัญชีตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีเกี่ยวกับการอนุญาตให้กิจการ NPAEs เลือกใช้นโยบายการบัญชีภายหลังการรับรู้รายการโดยการเลือกใช้วิธีการตีราคาใหม่สำหรับรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และการเลือกใช้วิธีมูลค่ายุติธรรมสำหรับรายการอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ตัวอย่างการบันทึกบัญชี และการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ภาษาไทย

กนกพร นาคทับที. (2563). ทิศทางการปรับปรุงมาตรฐานการรายงานการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ. การอบรมสัมมนาการบรรยายแนวทางการปรับปรุง NPAE – การศึกษาผลกระทบต่อนักบัญชีและสาธารณชน (ตอนที่ 1) วันที่ 18 มิถุนายน 2563. สืบค้นจาก http://www.tfac.or.th.

นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ ศิลปพร ศรีจั่นเพชร พจน์ วีรศุทธากร และพิมพ์ใจ วีรศุทธากร. (2556). คำอธิบายมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ทีพีเอ็น เพรส.

สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2563). ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี เรื่อง ข้อกำหนดเพิ่มเติมสาหรับรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนของกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ. สืบค้นจาก http://www.tfac.or.th.

. (2554). มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ. สืบค้นจาก http://www.tfac.or.th.

. มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2562) เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด. สืบค้นจาก http://www.tfac.or.th.

. มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2562) เรื่อง การวัดมูลค่ายุติธรรม. สืบค้นจาก http://www.tfac.or.th.

ศิลปพร ศรีจั่นเพชร และอนุวัฒน์ ภักดี. (2563). การบัญชีชั้นกลาง 1. กรุงเทพฯ :ห้างหุ้นส่วนจำกัด ทีพีเอ็น เพรส.

ภาษาอังกฤษ

Argiles, J., Aliberch, A., & Blandon, J. (2012). A comparative study of difficulties in accounting preparation and judgement in agriculture: using fair value and historical cost for biological assets valuation. Revista de Contabilidad, 15(1), 109-142.

Elad, C. (2004). Fair value accounting in the agricultural sector: some implications for international accounting harmonization. European Accounting Review, 13(4), 621-641.

Hadiyanto, A., Puspitasari, E. & Ghani, E. K. (2018). The effect of accounting methods on financial reporting quality. International Journal of Law and Management, 60(6), 1401-1411. https://doi.org/10.1108/IJLMA-03-2017-0022

Jaijairam, Paul. (2013). Fair Value Accounting vs. Historical Cost Accounting. Review of Business Information Systems, 17(1). 1-6. 10.19030/rbis.v17i1.7579.

Menicucci, E. & Paolucci, G. (2016). Fair value accounting and the financial crisis: a literature-based analysis. Journal of Financial Reporting and Accounting, 14(1), 49-71. https://doi.org/10.1108/JFRA-05-2014-0049

Muhammad, K. & Ghani, E. K. (2014). A fair value model for bearer biological assets in promoting corporate governance: a proposal. Journal of Agricultural Studies, 2(1), 16-26.

Rayman, R. (2007). Fair value accounting and the present value fallacy: the need for an alternative conceptual framework. British Accounting Review, 39(3), 211-225.