การบัญชีนิติวิทยา: การยกระดับสู่การเป็นวิชาชีพในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
“การบัญชีนิติวิทยา” เป็นคำที่วงการนักบัญชีและผู้สอบบัญชีเคยได้ยินมากว่า 20 ปีแล้ว แต่ยังไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลายในสังคมไทย ส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจความหมาย ไม่ทราบบทบาทหน้าที่ และความสำคัญของอาชีพนี้ ทั้งที่นักบัญชีนิติวิทยาเป็นผู้อยู่เบื้องหลังกระบวนการยุติธรรมที่สำคัญยิ่ง ในการสืบสวน รวบรวม และพิสูจน์พยานหลักฐานในคดีอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการเป็นพยานผู้เชี่ยวชาญในชั้นศาล
บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอความหมายและบทบาทหน้าที่ของนักบัญชีนิติวิทยาท ความเกี่ยวข้องระหว่างการบัญชีนิติวิทยากับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจและอาชญากรรมไซเบอร์ รวมทั้งความคืบหน้าของการขับเคลื่อนการยกระดับการบัญชีนิติวิทยาสู่การเป็นวิชาชีพในประเทศไทย เพื่อเป็นกลไกในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเศรษฐกิจสมัยใหม่ซึ่งใช้การก่ออาชญากรรมไซเบอร์เป็นเครื่องมือในบริบทสังคมยุคโลกาภิวัตน์ดิจิทัล
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสภาวิชาชีพบัญชี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสภาวิชาชีพบัญชี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสภาวิชาชีพบัญชี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำข้อมูลทั้งหมดหรือบางส่วนไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสภาวิชาชีพบัญชี ก่อนเท่านั้น
References
กีรติ ชื่นพิทยาธร. (2562). เอกสารประกอบการสอน Social Philosophy & Analytical Approaches. คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนโครงการประกาศนียบัตรความรู้ด้านการบัญชีนิติวิทยา สภาวิชาชีพบัญชีฯ. (2562). เอกสารประกอบการเสวนา แนะนำโครงการประกาศนียบัตรความรู้ด้านการบัญชีนิติวิทยา (Forensic Accounting Certificate : FAC). สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์.
จุฑารัตน์ เอื้ออำนวย. (2562). เอกสารประกอบการสอน Community Justice, Restorative Justice & Diversion. คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิอร องอาจสิทธิกุล และ เสาวนีย์ สิชฌวัฒน์. (2546). การบัญชีสืบสวนในทัศนคติของผู้สอบบัญชี: การบัญชีสืบสวนในประเทศไทย. วารสารวิชาชีพบัญชี, 3(6), 67-77.
พรชัย ขันตี และคณะ. (2558). ทฤษฎีอาชญาวิทยา: หลักการ งานวิจัย และนโยบายประยุกต์. กรุงเทพฯ : ส.เจริญการพิมพ์.
วรัญญา เอื้ออมรไพบูลย์. (2557). การศึกษาความเป็นไปได้ของวิชาชีพนักบัญชีสืบสวนในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศิรินทิพย์ จ้อยพุดซา. (2563). ผลกระทบของคุณลักษณะของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตต่อความพร้อม ในการทำงานด้านการบัญชีสืบสวนในประเทศไทย. วารสารสภาวิชาชีพบัญชี, 2(4), 48-63.
ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2553). มารู้จักกับการบัญชีสืบสวน. วารสารวิชาชีพบัญชี, 6(17), 22-28.
สมชาย ศุภธาดา. (2560). เอกสารประกอบการบรรยาย การบัญชีบริหารเชิงกลยุทธ์และการกับดูแลกิจการและการบัญชีนิติวิทยา. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมชาย ศุภธาดา. (2562). การบัญชีนิติวิทยา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ตำรวจ.
สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (2559). ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์.
สุพจน์ สุโรจน์. (2562). การบริหารงานยุติธรรม. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อัณณพ ชูบำรุง และ อุนิษา เลิศโตมรสกุล. (2555). อาชญากรรมและอาชญาวิทยา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุทัย อาทิเวช. (2558). ทฤษฎีอาชญาวิทยากับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา. กรุงเทพฯ : หจก.วี.เจ.พริ้นติ้ง
อุษณา ภัทรมนตรี. (2558). การตรวจสอบภายในสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : จามจุรีโปรดักท์
CAT cyfence. (2560). ทำความรู้จักกับ NIST Cybersecurity Framework. สืบค้นจาก
https://www.catcyfence.com/it-security/article/nist-cybersecurity-framework
Thai Publica. (2563). ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันปี 2562 ไทยอันดับถดถอย 101 ต่อต้านทุจริตทั่วโลกย่ำกับที่. สืบค้นจาก https://thaipublica.org/2020/01/corruption-perception-index-2019
ภาษาอังกฤษ
A. Spencer Wilcox. (2015). The Crime Prevention Triangle. Retrieved from
https://www.schererville.org/crime-prevention-triangle
Association of Certified Fraud Examiners (ACFE). Forensic Accountant. Retrieved from
https://www.acfe.com/forensic-accountant.aspx
Association of Certified Fraud Examiners (ACFE). The Fraud Tree. Retrieved from
https://www.acfe.com/fraud-tree.aspx
Association of International Certified Professional Accountants (AICPA). (2020). STATEMENT ON STANDARDS FOR FORENSIC SERVICES.
Criminal Justice Research. Routine Activities Theory. Retrieved from
http://criminal-justice.iresearchnet.com/criminology/theories/routine-activities-theory
David T. Wolfe and Dana R. Hermanson. (2004). The Fraud Diamond: Considering the Four Elements of Fraud. Retrieved from
https://pdfs.semanticscholar.org/c9c8/32fa299f648464cbd0172ff293f5c35684b6.pdf
Donald R. Cressey. Fraud Triangle. Retrieved from https://www.acfe.com/fraud-triangle.aspx
Francis T. Cullen & Pamela Wilcox (Eds.). (2010). Encyclopedia of Criminological Theory : Cohen, Lawrence E., and Marcus K. Felson : Routine Activity Theory. SAGE Publications.
George A. Manning. (2005). Financial Investigation and Forensic Accounting. Taylor & Francis Group.
Institute of Certified Forensic Accountants (ICFA). What is Forensic Accounting. Retrieved from http://www.forensicglobal.org/forensicaccounting.html
Jensen & Meckling. (1976). Theory of the Firm: Managerial Behavior, Agency Costs and Ownership Structure. Journal of Financial Economics, 305-360.
Nic Ryder. (2018). WHITE COLLAR CRIME AND RISK: Financial Crime, Corruption and the Financial Crisis. Palgrave Studies in Risk, Crime and Society.
Petter Gottschalk. (2016). Explaining White-Collar Crime : The Concept of Convenience in Financial Crime Investigations. Palgrave Macmillan.
Rabi’u ABDULLAHI and Noorhayati MANSOR. (2015). Fraud Triangle Theory and Fraud Diamond Theory. Understanding the Convergent and Divergent For Future Research. International Journal of
Academic Research in Accounting, Finance and Management Sciences, HRMARS, 5(4), 38–45.
Rana Sampson, John E. Eck., and Jessica Dunham. (2010). Super controllers and crime prevention: A routine activity explanation of crime prevention success and failure. Security Journal, 23(1), 37–51.