คุณลักษณะและลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบ ในสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินต่อการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ

Main Article Content

ชญานี ลากุล

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงคุณลักษณะและลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้ปฏิบัติงาน ตรวจสอบในสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินต่อการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ โดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามที่ตอบกลับจากผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 294 คน ผลการวิจัย พบว่า งานตรวจสอบด้านการเงิน การดำเนินงาน การจัดเก็บรายได้ และการบริหารพัสดุและสืบสวน ส่งผลบวกต่อการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ นอกจากนี้พบว่า เพศมีผลต่อการชะลอการลงความเห็นตำแหน่งงาน และประเภทของงานที่ตรวจสอบมีผลต่อการตัดสินใจได้ด้วยตนเองและความมั่นใจในตัวเอง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ภาษาไทย

ชาญชัย ตั้งเรือนรัตน์. (2559). ลักษณะทางประชากรศาสตร์กับการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ. วารสารวิชาชีพบัญชี, 12 (35), 5-20.

ไพลิน ตรงเมธีรัตน์ และ นวพร พวงมณี. (2557). ว่าด้วยความสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ. วารสารวิชาชีพบัญชี, 10 (27), 78-85.

โยสิตา ฑีฆะสังข์. (2557). ความสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพกับการประเมินตนเองของผู้สอบบัญชีในด้านการประเมินความเสี่ยง.

(การค้นคว้าอิสระบัญชีมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ร้อยโทหญิงสายฝน ด้วยกูล. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนางานตรวจสอบภายในของผู้ตรวจสอบภายในทหารบก. สืบค้นจาก https://www.spu.ac.th/fac/account/th/content.php?cid=841

วรวิทย์ เลาหะเมทนี พัชรินทร์ สารมาท และ ภานุมาศ แสงประเสริฐ. (2559). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ระหว่างค่านิยมส่วนบุคคลกับการใช้วิจารณญาณในการสังเกตเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีของนักศึกษาการบัญชี. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 22 (1), 153-171.

ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2554). ผู้สอบบัญชีกับสัญญาณเตือนภัย. วารสารวิชาชีพบัญชี, 7 (18), 22-25.

สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2555). มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 200 วัตถุประสงค์โดยรวมของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี. กรุงเทพมหานคร.

สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2555). มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 240 ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับการพิจารณาการทุจริตในการตรวจสอบงบการเงิน. กรุงเทพมหานคร.

สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2555). มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 300 การวางแผนการตรวจสอบงบการเงิน. กรุงเทพมหานคร.

สุนิษา ธงจันทร์ สุบรรณ เอี่ยมวิจารณ์ และ จิระทัศน์ ชิตทรงสวัสดิ์. (2552). ผลกระทบของคุณลักษณะทางวิชาชีพที่ มีต่อคุณภาพการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีภาษีอากรในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 1 (1), 76-90.

ภาษาอังกฤษ

BBC. (2017). Toshiba: What's going wrong?. Retrieved from https://www.bbc.com/news/ business-38456275.

Converse, J. M., & Presser, S. (1990). Survey Questions Handcrafting the Standardized Questionnaire: Quantitative Applications in the Social Sciences. Newbury Park, CA: Sage Publications, Inc.

Hurtt, R. K. (2010). Development of a Scale to Measure Professional Skepticism. Auditing: A Journal of Practice and Theory, 29 (1), 149-171.

Hurtt, R. K., Brown-Liburd, H., Earley, C. E., & Krishnamoorthy, G. (2013). Research on auditor professional skepticism: Literature synthesis and opportunities for future research. Auditing: A Journal of Practice & Theory, 32 (1), 45-97.

McMillan, J.J., and White, R.A. (1993). Auditor’s Belief Revisions and Evidence Search: The Effect of Hypothesis Frame, Confirmation Bias, and Professional Skepticism. The Accounting Review, 68 (3), 443-465.

Nelson, M. W. (2009). A model and literature review of professional skepticism in auditing. Auditing: A Journal of Practice & Theory, 28 (2), 1–34.

Chomeya, R. (2010). Quality of psychology test between Likert scale 5 and points. Journal of Social Sciences, 6(3), 399-403.