การประยุกต์ TFRS 15 กับการฝากขาย การขายผ่อนชำระ การขายอสังหาริมทรัพย์ และสัญญาก่อสร้าง
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้แนวทางในการวิเคราะห์ และการประยุกต์หลักการรับรู้รายได้ 5 ขั้นตอน กับการรับรู้รายได้ที่เกิดจากตัวแทนและการฝากขาย การขายผ่อนชำระ การขายอสังหาริมทรัพย์และสัญญาก่อสร้าง โดยเนื้อหาเป็นการอธิบายประเด็นสำคัญสำหรับการรับรู้รายได้ในแต่ละขั้นตอนตั้งแต่ 1) การระบุสัญญา 2) การระบุภาระที่ต้องปฏิบัติ 3) การกำหนดราคาขาย 4) การปันส่วนราคา และ 5) การรับรู้รายได้ ซึ่งสอดคล้องตามหลักการที่กำหนดไว้ของ TFRS 15
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสภาวิชาชีพบัญชี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสภาวิชาชีพบัญชี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสภาวิชาชีพบัญชี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำข้อมูลทั้งหมดหรือบางส่วนไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารสภาวิชาชีพบัญชี ก่อนเท่านั้น
References
ศิลปพร ศรีจั่นเพชร และ อนุวัฒน์ ภักดี. (2562). การบัญชีชั้นสูง. กรุงเทพฯ: ทีพีเอ็น เพรส. พิมพ์ครั้งที่ 1.
ศิลปพร ศรีจั่นเพชร และ อนุวัฒน์ ภักดี. (2562). รายได้จากสัญญาที่ทำกับลูกค้า: หลักการรับรู้รายได้. วารสารสภาวิชาชีพบัญชี, 1(1), 40-20.
สภาวิชาชีพบัญชี. มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 เรื่อง รายได้จากสัญญาที่ทำกับลูกค้า. สืบค้นจาก https://www.tfac.or.th.
ภาษาอังกฤษ
KPMG (2019). Revenue IFRS 15 Handbook. Retrieved from https://home.kpmg/content/dam/ kpmg/xx/pdf/2019/06/ifrs15-revenue-handbook.pdf.