ที่ใดมีรัก ที่นั่นอาจมีลวง: มายาคติเกี่ยวกับความรักของชนชั้นกลาง ในรวมเรื่องสั้น “รักในลวง”

ผู้แต่ง

  • ภูริณัฐ พฤกษ์เนรมิตร สาขาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย นครปฐม

คำสำคัญ:

รักในลวง, มายาคติ, ความรัก, การต่อสู้, ชนชั้นกลาง

บทคัดย่อ

         บทความวิชาการเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามายาคติเกี่ยวกับความรักที่ของชนชั้นกลางปรากฏอยู่ในรวมเรื่องสั้น รักในลวง ของ จิรัฏฐ์ ประเสริฐทรัพย์ ศึกษาด้วยระเบียบวิธีวิจัยเชิงเอกสารโดยใช้แนวคิดมายาคติประกอบการศึกษา นำเสนอผ่านการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า ความรักที่ปรากฏในรวมเรื่องสั้นเต็มไปด้วยความฉาบฉวย และความอิหลักอิเหลื่อเพราะการพยายามจะรักโดยไม่พิจารณาว่าสิ่งที่กำลังรักอาจเป็นเพียง ‘ภาพมายา’ ที่ถูกสร้างให้คล้ายคลึงกับ ‘ความรัก’ อีกทั้งยังแสดงให้เห็นการต่อสู้ของตัวละคร ที่ต้องการขยับบรรทัดฐานของสังคมและวัฒนธรรมขึ้นให้กว้างขวางพอที่จะสามารถแสดงรูปแบบความรักของตนเองออกมาได้อย่างอิสระ เรื่องสั้นยังชี้ชวนให้เกิดการตั้งคำถามกับมายาคติ เพื่อเผยให้เห็นความจริงและความลวงจากกลุ่มของชนชั้นกลางในสังคม ประกอบร่างเป็นความรู้สึก ‘จริง’ ให้กับบางสิ่งที่อาจกำลัง ‘ลวง’ อยู่ในนามของ “ความรัก”

References

กฤษฎา ขำยัง. (2552). วิถีเมืองในงานเขียนของปราบดา หยุ่น. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กาญจนา ปลอดกรรม. (2566). วิวัฒนาการของความรัก สู่ยุคสมัยแห่งคนเหงา คุยกับ ‘กิตติพล

สรัคคานนท์’. สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2567, จาก https://www.the101.world/kritti phol-philosophy-of-love/.

กิตติพล สรัคคานนท์. (2567). IN THEORIES ในความรัก เราต่างเป็นนักทฤษฎี (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : แซลมอน.

จอห์นนพดล วศินสุนทร. (2557). มายากล กับมายาคติในสังคมไทย, วารสารสุทธิปริทัศน์. 28(86), 274-294.

จิรัฏฐ์ ประเสริฐทรัพย์. (2566). รักในลวง. กรุงเทพฯ : แซลมอน.

ฐิติมา กมลเนตร. (2559). ความรักในมหานคร: ความสัมพันธ์ระหว่างชายหญิงและการโหยหาอดีตในวรรณกรรมเอเชียร่วมสมัย. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัชชาภัทร อุ่นตรงจิตร. (2562). มายาคติเรื่องทฤษฎีชนชั้นกลาง. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2567, จาก https://www.kpi.ac.th/knowledge/book/ data/388?category=&search=%

E0%B8%9E%E0%B8.

นรพันธ์ ทองเชื่อม. (2566). อารมณ์รู้สึกอิจฉา จะแก้ไขอย่างไรดี?. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://thestandard.co/life/how-to-deal-with-jealous-feelings/.

นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2567). Eroticism ใน 100 แนวคิด มานุษยวิทยาร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

บาร์ตส์, โรล็องด์. (2551). มายาคติ Mythologies. (วรรณวิมล อังคสิริสรรพ, ผู้แปลและเรียบเรียง). กรุงเทพฯ : คบไฟ.

ยุกติ มุกดาวิจิตร. (2563). ภาษาการเมืองของคนรุ่นใหม่, วารสารมานุษยวิทยา. 3(2), 204-209.

ลีลา จันสว่าง. (2556). การศึกษาความเชื่อมโยงของสื่อ สังคมและอุดมการณ์ชาตินิยมกระแสหลัก ผ่านสื่อละครโทรทัศน์เรื่อง ทวิภพ. (การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วณัฐย์ พุฒนาค. (2561). ความรักชนะทุกอย่างจริงไหม? ความโรแมนติกข้ามฐานะมีจริงหรือเปล่า. สืบค้นเมื่อ 17 เมษายน 2567, จาก https://thematter.co/social/love-win-class-matter/63963.

วรัญวรัชญ์ พูลศรี. (2553). ความสุขของสตรีสูงวัยในนวนิยายไทย ระหว่าง พ.ศ. 2525-2552. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิทวัส ทองเขียว. (2559). มายาคติแห่งอำนาจในสังคมไทย. (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อาณดา วิรมณรมิตา. (2564). ความรักและวิถีทางกามารมณ์ของชนชั้นกลางไทย พ.ศ.2540-2560, วารสารมนุษยศาสตร์สาร. 22, 134-155.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-29