การเสริมสร้างความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเชิงวิเคราะห์และวิจารณ์ ของนิสิตชั้นปีที่ 2 โดยใช้วิธีสอนแบบบูรณาการของเมอร์ดอคช์ (MIA)

ผู้แต่ง

  • จุรีภรณ์ มะเลโลหิต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

คำสำคัญ:

การอ่านภาษาอังกฤษเชิงวิเคราะห์และวิจารณ์, วิธีการสอนแบบบูรณาการของเมอร์ด็อคช์

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเชิงวิเคราะห์และวิจารณ์ของนิสิตชั้นปีที่ 2 ก่อนและหลังการใช้วิธีสอนแบบบูรณาการของเมอร์ดอคช์ (MIA) 2) ศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อวิธีสอนแบบบูรณาการของเมอร์ดอคช์ (MIA) กลุ่มตัวอย่าง เป็นนิสิตชั้นปีที่ 2 จำนวน 40 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบบูรณาการของเมอร์ดอคช์ (MIA) 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเชิงวิเคราะห์และวิจารณ์ และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการสอนโดยใช้วิธีสอนแบบบูรณาการของเมอร์ดอคช์ (MIA) สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test (Dependent Samples) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ เชิงวิเคราะห์และวิจารณ์ของนิสิตชั้นปีที่ 2 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 โดยใช้วิธีสอนแบบบูรณาการของเมอร์ดอคช์ (MIA) 2) ความพึงพอใจของนิสิตชั้นปีที่ 2 ที่มีต่อการเรียนการอ่านโดยใช้วิธีสอนแบบบูรณาการของเมอร์ดอคช์ (MIA) โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด

 

 

 

References

กชภร ภัทรประเสริฐ, ทัศนีย์ นาคุณทรง, ทิพา พรสุจารี. (2565). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้วิธีสอนแบบบูรณาการของเมอร์ดอคช์ (MIA) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 16(1), 1-12.

ธนพงศ์ ทิพย์ธานี, ทำรงลักษณ์ เอื้อนครินทร์. (2564). การพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านเพื่อความ เข้าใจโดยใช้วิธีการสอนแบบบูรณาการของเมอร์ด็อค สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, Journal of Buddhist Education and Research. 7(3), 248 - 258.

ธีรภัทร สุวรรณพานิช. (2561). การพัฒนาความสามารถการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยกิจกรรมการอ่านแบบบูรณาการของเมอร์ด็อค (MIA) (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องตนฉบับปรับปรุงใหม. (พิมพครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

ทิพย์วรินทร์ ยานเยื้อน และ ประกฤติ พูลพัฒน์. (2563). การศึกษาความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนศรีสังวาลย์ โดยวิธีสอนแบบบูรณาการของเมอร์ด็อค (MIA), วารสารวิจัยและพัฒนาการศึกษาพิเศษ. 9(1), 36-43.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2557). คิดวิเคราะห์: สอนและสร้างได้อย่างไร. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

พัชรี ชวนฤทัย, ปวริศา จรดล และวิวัฒน์ เพชรศรี. (2563). การเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยวิธี MIA และการจัดการเรียนรู้โดยวิธี CIRC, วารสารวิจัยรำไพพรรณี. 14 (2), 181-191.

พันทิพา เย็นญา. (2562). ผลการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ที่มีต่อการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6, วารสารการวัดผลการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 36(99), 28-40.

ภัทราดา เอี่ยมบุญญฤทธิ์, ชลธิชา ภูริปาณิก, & ฐิติชัย รักบำรุง. (2563). การสอนอ่านเชิงวิเคราะห์ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กไทยยุค Gen Z, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 31(3), 1-11.

ภูริภัทร์ เป้งย้อง สมโภชน์ พนาวาส และ สรพล จิระสวัสดิ์. (2561). ผลการใช้วิธีการสอนแบบเอ็ม ไอ เอ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6, วารสารวิชาการบัณฑิต วิทยาลัยสวนดุสิต. 15(2), 205-217.

รัชนีกร สิงห์โต และ สุธาทิพย์ งามนิล. (2564). ผลการสอนแบบบูรณาการของเมอร์ด็อคร่วมกับผังกราฟิกที่มีต่อความเข้าใจในการอ่านและเจตคติต่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6, วารสารบัณฑิตวิจัย. 12(1), 95-106.

วราภรณ์ พูลสวัสดิ์. (2564). การจัดการเรียนรู้แบบ MIA เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจและการคิดวิเคราะห์วิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิต“พิบูลบำเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 21(2), 83-98.

วิจารณ์ พานิช. (2558). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21, วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. 1(2), 3-14.

วิภารัตน์ คำไสย์ทอง. (2558). การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดฝึกประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการของเมอร์ด็อค (MIA) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, วารสารวิชาการ. 11(2), 73-81.

วีระศักดิ์ สุวรรณไตร. (2557). การใช้ชุดฝึกการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษร่วมกับวิธีการสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอร์ดอกซ์ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3, Journal of Graduate School Sakon Nakhon Rajabhat University. 11(53), 53-64.

วันเพ็ญ ขำเหม และ วราภรณ์ วราธิพร. (2564). แบบฝึกการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจแบบบูรณาการของเมอร์ด็อคโดยเน้นเนื้อหาอาเซียน, วารสารนิสิตวัง. 21(2), 12-26.

วัสมน กฤษกลาง และสิริรัตน์ นาคิน. (2563). การศึกษาความสามารถในการอ่านจับใจความและทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยวิธีการสอนอ่านแบบบูรณาการ ของเมอร์ดอกซ์ (MIA) ร่วมกับแผนผังกราฟฟิก, วารสารราชพฤกษ์. 18(3), 112-119.

สุจินทรา ปุผมาศ และ สิทธิพล อาจอินทร์. (2561). การศึกษาความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการของ Murdoch ร่วมกับนิทานพื้นบ้านอาเซียน, วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น. 12(1), 197-204.

สุชนินธ์ บัณฑุนันทกุล. (2558). ประสบการณ์การอ่านแบบเสริมต่อการเรียนรู้ กับการพัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ, วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 16(1). 59-67.

สุทธิวรรณ พีรศักดิ์โสภณ. (2557). การพัฒนาแบบทดสอบวัดความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุทัศน์ สังคะพันธ์. (2557). ทําไมต้องทักษะในศตวรรษที่ 21 ในบทความทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฏีนิพนธ์). มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุมาลี เพชรคง, อารีรักษ์ มีแจ้ง และศิตา เยี่ยมบันติถาวร. (2563). ศึกษาผลของการสอนอ่านภาษาอังกฤษตามแบบบูรณาการของเมอร์ด็อค (MIA) ที่มีต่อความเข้าใจในการอ่านและความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนห้วยยอด จังหวัดตรัง, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช. 13(1), 69-82.

สมุทร เซ็นเชาวนิช. (2551). เทคนิคการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุรพงษ์ น้อยสอาด. (2561). การพัฒนาความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลักสูตรสองภาษาโดยใช้วิธีการสอนการอ่านแบบบูรณาการของเมอร์ดอกซ์ (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฏีนิพนธ์). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรังสิต.

สรณบดินทร์ ประสารทรัพย์. (2561). ผลการใช้วิธีสอนอ่านแบบบรูณาการของเมอร์ดอกซ์ (MIA) ที่มีต่อการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจของนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4, วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 11(2). 175-186

สมุทร เซ็นเชาวนิช. (2551). เทคนิคการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อาธิติยา งอกสินและพรพิมล รอดเคราะห์. (2565). ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามวิธีสอนแบบMIA เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจและกลยุทธ์การอ่านสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, Journal of Modern Learning Development. 7(9), 55-71.

อัจฉราวรรณ ศิริรัตน์. (2549). “การพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยใช้ข้อมูลท้องถิ่นเมืองกาญจนบุรี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3” (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ภาษาอังกฤษ

Bloom, B. S. (1956). Taxonomy of Educational Objectives. New York: David Mc Kay.

Brookfield, S. (2013). Teaching for critical thinking. Handbook of Research on Teaching and Learning in K-20 Education, 1-16.

Murdoch, George S. (1986). “A More Integrated Approach to the Teaching of Reading,” English Teaching Forum, 34(1) : 9-15.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-11