คนขอทานกับขบวนการต่อรองอำนาจในฐานะผู้แสดงความสามารถ (วณิพก) ในบริบทสังคมไทย
คำสำคัญ:
คนขอทาน, ผู้แสดงความสามารถ, การต่อรองอำนาจบทคัดย่อ
คนขอทานหรือวณิพกจัดเป็นกลุ่มผู้ประสบปัญหาทางสังคมซึ่งมีสาเหตุมาจากความยากจนและความเหลื่อมล้ำทางสังคม ในอดีตคนขอทานถูกนิยามให้เป็นเสมือน “ขยะสังคม” โดยรัฐบาลได้ใช้อำนาจรัฐดำเนินนโยบายควบคุมขอทานครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2484 เพื่อขจัดความเป็นขอทานให้หมดไปด้วยวิธีการจับกุม คุมขัง และตัดผลประโยชน์ที่พึงได้รับจากการเป็นผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ผลกระทบของการดำเนินนโยบายนำไปสู่สภาวะกดดันต่อกลุ่มวณิพกเกิดเป็นความพยายามต่อสู้และช่วงชิงอำนาจผ่านปฏิบัติการทางวาทกรรมเพื่อสถาปนาอัตลักษณ์บนพื้นที่ทางสังคม โดยการหยิบยืมหลักสิทธิมนุษยชน และพื้นที่ทางวัฒนธรรมของความเป็นวณิพก ปัจจุบันการขยายพื้นที่เชิงอำนาจของวณิพกเพื่อทัดทานวาทกรรมกระแสหลักทำให้รัฐบาลปรับนโยบายควบคุมขอทานโดยนิยามคนขอทานคือ ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม และเปลี่ยนคนขอทานที่มีศักยภาพหรือวณิพกให้กลายเป็นผู้แสดงความสามารถ นอกจากนี้รัฐบาลยังใช้มาตรการคุ้มครองและพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนขอทานให้กลายเป็นผู้มีศักยภาพต่อการพัฒนาประเทศต่อไป
References
กุลพล พลวัน. (2538). พัฒนาการสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.
จิรวรรณ ทองทัพ และพรชัย เลื่อนฉวี. (2559). ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับใช้พระราชบัญญัติควบคุมขอทาน พ.ศ.248, วารสารบัณฑิตวิทยาลัย. 5(1), 198-214.
ฐิตินัน บ. คอมมอน. (2555). เพลงและอัตลักษณ์วัฒนธรรมชุมชน: จรัล มโนเพ็ชร กับบทบาทของนักรบทางวัฒนธรรมดนตรีล้านนา, วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์. 6(2): 145-179.
ณัฏฐณิชา นันตา. (2553). วาทกรรมเพลงเพื่อชีวิตในบริบทการเมืองไทย (พ.ศ.2525-2550) (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐนรี โค้งสุวรรณศรี. (2559). กว่าจะมาเป็นขอทาน : เรื่องราวที่มากกกว่าความขี้เกียจและการค้ามนุษย์. สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2561, จาก http://www.ftawatch.org/node/46553
ณัฐพล ใจจริง. (2552). การเมืองไทยสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามภายใต้ระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา (พ.ศ.2491-2500) (ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดวงพร ภิญญะพันธ์. (2550). โลกของ “นักดนตรีเปิดหมวก” (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นัฐวุฒิ สิงห์กุล. (2555). วณิพก : ตัวตนและวิถีชีวิตในพื้นที่สังคมไทย, ดำรงวิชาการ. 7(2), 141-166.
น้ำผึ้ง มโนชัยภักดิ์. (2554). การแสดงลำตัดคณะหวังเต๊ะ : การศึกษาตามแนวชาติพันธุ์วรรณาแห่งการสื่อสาร(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นิธิ เอี่ยวศรีวงค์. (2545). ก่อนยุคพระศรีอาริย์ : ว่าด้วยศาสนา ความเชื่อ และศีลธรรม. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มติชน.
บุญเดิม พันรอบ และภารดี มหาขันท์. (2522). การสำรวจลักษณะสังคมและวัฒนธรรมพื้นบ้านภาคตะวันออก. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.
ประชาไท. (2551). ตีตรามนุษย์...การหลงทางของนโยบายรัฐ. สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2561, จาก https://prachatai.com/journal/2008/08/17910
ปัทมาวดี ปัทมาโรจน์. (2518). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเป็นขอทาน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
แผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย. (2551). เสี่ยงสะท้อน พ.ร.บ.ขอทาน พ.ศ..., จดหมายข่าวการเมืองเรื่องคนพิการ. 13(2), 8-13.
พิมพาภรณ์ บุญประเสริฐ. (2555). วาทกรรมชาตินิยมของรัฐบาลไทยตั้งแต่ พ.ศ.2475 ถึง พ.ศ.2550 (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีนิพนธ์). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ภีมกร โดมมงคล. (2562). การคุ้มครองสิทธิและการเข้าถึงความยุติธรรมของคนไร้ที่พึ่งในสถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง, วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์. 27(1), 158-191.
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม. (2561). เพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย. สืบค้นเมื่อ 11 ธันวาคม พ.ศ.2561, จาก http://ich.culture.go.th/index.php/th/ich/performing-arts/236-performance/265-----m-s
รณรงค์ จันใด. (2560). โครงการศึกษาแนวทางการขับเคลื่อนงานตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ.2559. กรุงเทพมหานคร : จรัญสนิทวงคารพิมพ์.
รัชนุช สละโวหาร. (2539). บทบาทผู้ส่งสารของหวังเต๊ะในการถ่ายทอดความรู้ โดยผ่านสื่อพื้นบ้านประเภทลำตัด : กรณีศึกษาเฉพาะกรณี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วสันต์ ณ ถลาง. (2549). สาเหตุของการกลับมาเป็นคนเร่ร่อน ขอทานในสถานแรกรับคนไร้ที่พึ่ง สันมหาพน อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ (การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
วัชรี วรรณลี. (2559). สิทธิของผู้สร้างสรรค์ในฐานะนักแสดงภายใต้สนธิสัญญาปักกิ่งว่าด้วยการแสดงในงานโสตทัศน์วัสดุ ค.ศ. 2012 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วิทยา วิเศษรัตน์. (2558). ขอทานนั้นสบายแต่ไร้ค่า. สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2561, จาก http://www.islammore.com/view/2285
วิภา คงคากุล. (2529). ความสำคัญของดนตรีต่อสังคม, ถนนดนตรี. 1(1): 34-37.
สมศักดิ์ ชินอรุณชัย. (2537). มาตรการทางกฎหมายต่อขอทานและผู้ถือประโยชน์จากการขอทานในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมศักดิ์ สามัคคีธรรม. (2554). การสถาปนาอำนาจของผู้ไร้อำนาจ. กรุงเทพมหานคร : บริษัท มาฉลองคุณ ซีเอสบี จำกัด.
สาทร ศรีเกตุ. (2557). พัฒนาการความสัมพันธ์เชิงอำนาจทางเศรษกิจและการเมืองในวัฒนธรรมเพลงไทยสากล (ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุเทพ วิสิทธิเขต. (2553). การศึกษาอัตลักษณ์การแสดงเพลงขอทานของครูประทีป สุขโสภา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
เสาวลักษณ์ วรายุ. (2551). คนข้ามแดน : ชีวิตและชุมชนขอทานเขมรในกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อนุสรณ์ ลิ่มมณี. (2531). ทฤษฎีเศรษฐกิจการเมืองยุคปัจจุบัน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Adam, R. (2008). Empowerment: Participation and Social Work. Hampshire : Palgrave Macmillan.
Alston, J. M., Freebairn, J. W., & James, J. S. (2001). Beggar-thy-neighbor advertising: Theory and application to generic commodity promotion programs, American Journal of Agricultural Economics. 83(4), 888-902.
Bourdieu, P. (1997). Outline of a Theory of Practice. Cambridge : Cambridge University Press.
Brook, D. (1996). ‘Class Politics versus Identity Politics’, The Public Interest. Retrieved September 6, 2018, from https://www.nationalaffairs.com/storage/app/uploads/public/58e/1a4/eb1/58e1a4eb 1ab1f109814744.pdf
Certeau, D. M. (1984). The practice of everyday life translated by Steven Rendall. Berkeley : University of California Press.
Dunn, J. (1994). ‘Introduction: Crisis of the Nation-State?’, Political Studies. 42(1), 3-15.
Hall, S. (1986). Gramoi’s Relevance for the study of race and ethnicity, Journal of Communication Inquiry. 10(2), 5-27.
Khan, J.H., Menka & Shamshad. (2014). Socio-economic status of beggars in Aligarh district, India, The International Journal of Social Sciences and Humanities Invention. 1(5), 37-52.
Namwata, B. M., Mgabo, M. R., & Dimoso, P. (2012). Categories of street beggars and factors influencing street begging in central Tanzania, African Study Monographs. 33(2), 133-143.
Roth, V. (2012). Defining Human Trafficking and Identify Its Victims: A Study on the Impact and Future Challenges of International, European and Finnish Legal Responses to Prostitution-Related Trafficking in Human Beings. Danvers, MA : Koninklijke Brill NV.
Schlesinger, A.M. (1992). The Disuniting of America. New York : Norton.
Sethna, Jehangir M.J. (1980). Society and the criminal. Bombay : N.M. Trippther Private Limited.
Severn, S.L. (2007). Do conventional foreign direct investment theories explain why multinational enterprises conduct foreign direct investment in Thailand? (Doctoral dissertation). Nottingham : University of Nottingham.
Shelly, L. (2010). Human Trafficking in Persons Report. New York : United Nations.
Stocking, G.W. (1982). Race, Culture and Evaluation: Essays in the History of Anthropology. Chicago : University of Chicago Press.
Superadmin. (2561). หวังเต๊ะ นายหวังดี นิมา. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2562, จาก https://storysiam.com/หวังเต๊ะ-นายหวังดี-นิมา/