ผลการใช้วิธีการสอนแบบ SQ4R เพื่อส่งเสริมการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนิสิตที่เรียนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ มหาวิทยาลัยทักษิณ

ผู้แต่ง

  • จุรีภรณ์ มะเลโลหิต

คำสำคัญ:

SQ4R, การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนิสิตชั้นปีที่ 1 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ SQ4R และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนิสิตชั้นปีที 1 มหาวิทยาลัยทักษิณ ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้วิธี การสอนแบบ SQ4R กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตชั้นปีที่ 1 จำนวน 30 คน กลุ่มตัวอย่างได้จากการเลือกแบบเจาะจงที่ได้ลงทะเบียน รายวิชาหลักการอ่าน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 เครื่องมือที่ใช้ คือ 1) แผนการสอนที่ออกแบบโดยใช้วิธีการสอนแบบ SQ4R 2) `แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ในการอ่านเพื่อความเข้าใจ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนโดยวิธีการสอน SQ4R สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์การอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจโดยใช้วิธีสอนแบบ SQ4R ของนิสิตชั้นปีที่ 1 มีการพัฒนาขึ้นหลังจากได้รับการสอนโดยใช้วิธีการสอนแบบ SQ4R และ 2) ความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อการอ่านภาษาอังกฤษ โดยใช้วิธีสอนแบบ SQ4R โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด

References

กานต์ธิดา แก้วกาม. (2557). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่จัดการเรียนรู้โดยวิธีสอน แบบ SQ4R กับ วิธีสอนแบบปกติ, วารสารวิชาการ Veridian E-Journal .7 (3), 43-56.

ฐิติกาณจน์ จันทรสมบัติ. (2554). การพัฒนาบทอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้บริบทท้องถิ่นด้านวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมหาวิชานุกูล, วารสารการบริหารและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 1(1) : (76-85).

นฤมล เทพนวล และ รุจโรจน์ แก้วอุไร. (2557). การพัฒนารูปแบบ SQ4R บนเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมการอ่าน, วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 6, 206-219.

เนตรนภิส ตันเทิดทิตย์. (2557). การเปรียบเทียบผลการเรียน เรื่อง การ อ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการสอนโดยใช้ชุดสื่อประสมกับการสอนแบบ SQ4R, วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 6 (12) : 115-127.

ภูมินทร์ เหลาอำนาจ. (2556). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้วิธีสอนแบบ SQ4R ของนักศึกษาวิชาเอก ภาษาอังกฤษชั้นปี ที่ 2 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์, ราชภัฏเพชรบูรณ์สาร, 15, 71-76.

เมขลา ลือโสภา ประสพสุข ฤทธิเดช และภูษิต บุญทองเถิง. (2556). การพัฒนาการอ่านจับใจความด้วยวิธีการสอนแบบ SQ4R กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, วารสาร ว. มรม. (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 7 (1) : 107-116.

วนิดา สุวรรณสินธุ์, สุพรรณริกา วัฒน์บุณย์ และ พนาน้อย รอดชู. (2557). การศึกษาความสามารถด้านทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความ เข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้เทคนิคการสอนแบบ เอส คิว โฟร์ อาร์ พลัส, วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ, 7, 128-134.

ศศิโสภา แสงกมล. (2554). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ เจตคติต่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานกับ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพหุปัญญา, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 5 (3), 34-42.

สุพรรณี ไกยเดช, กันยารัตน์ สอนสุภาพ, และอนุวัต ชัยเกียรติธรรม. (2558). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การอ่านเพื่อความ เข้าใจ และการทำงานเป็นทีม เรื่อง Love Our Environment ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่ม ร่วมมือแบบ CIRC กับแบบ SQ4R, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 9 (1), 105-117.

เสาวนีย์ สามหมอ อารี รักษ์ มีแจ้ง และ ศิตา เยี่ยมขันติ ถาวร. (2558). ผลการใช้วิธีสอนแบบ SQ4R ที่มีต่อความเข้าใจในการอ่านและเจต คติต่อการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนยนราชประชานุเคราะห์ 6 จังหวัดนครศรีธรรมราช. ใน การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 5. วันที่ 27 พฤศจิกายน 2558 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Basar, M. (2017). Effect of the SQ4R Technique on the Reading Comprehension of Elementary School 4th Grade Elementary School Student. Eric Doc

Beyreli, L. and Amanvermez, F. (2018) . The Effect of Interactive Read Aloud and SQ4R Reading Strategies on Comprehension: Mixed Method Research, International Journal of Languages’ Education and Teaching, 6, (1), 271-291.

Erdal, P, & Ali, E. (2016). Improving Reading Comprehension Skills Throughthe SCRATCH Program International Electronic, Journal of Elementary Education, 9(1), 124-150.

Nurul, L, K . & Ninuk L. (2017). Improving English Reading Comprehension Ability through Survey, Questions, Read, Record, Recite, Review Strategy (SQ4R), Journal Eanglish Language Teaching, 10 (12), 1-10.

Pauk, W. (1984). The new SQ4R. Reading World, 23, 274-275.

Robinson, F.P. (1941). Diagnostic and remedial techniques for effective study.

Rodli M, (2015). Apply PQ4R Strategy for Teaching Reading, Indonesian EFL Journal, 1, 31- 41.
Seher, B. (2017). Reading Comprehension Skills Of Bilingual Children In Turkey. European, Journal of Education Studies, 3 (6).

Shahri, N. (2015). Effectiveness of Cognitive and Metacognitive Strategies and SQ4R Methods in Reducing Test Anxiety In Student. Eric Doc.

Yakupoglu, F., (2012). The Effects of Cognitive and Metacognitive Strategy Training on the Reading Performance of Turkish Students. Practice and Theory in Systems of Education,7 (3), 353-358.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-31