องค์กรแห่งการเรียนรู้เชิงนวัตกรรม: ปัจจัยการบริหารองค์การยุคใหม่

Main Article Content

Samrerng Onsampant

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


           บทความนี้มีเป้าหมายเพื่อนำเสนอแนวคิด มโนทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับองค์การแห่งการเรียนรู้ที่ประยุกต์จากแนวคิดของนักวิชาการด้านองค์กรแห่งการเรียนรู้หลายคนเช่น เซ็นจ์(Senge, 1990) การ์วิน(Garvin, 1993) มาควอทซ์(Marqaurdtz, 1996) และคนอื่น ๆ อีกหลายคน นำมาบูรณาการกับความรู้ด้านองค์การนวัตกรรมของทิดด์ แบสเซ็นท์ และพาวิทต์ (Tidd, Bessant and Pavitt, 2001, 2009) ที่ได้กล่าวถึงความเป็นองค์การนวัตกรรมสมัยใหม่ นำมาผนวกรวมกันสังเคราะห์เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้เชิงนวัตกรรม ซึ่งมีปัจจัยหลัก 10 ประการ คือ 1) วิสัยทัศน์ร่วมและกลยุทธ์ 2) โครงสร้างองค์การ และระบบ 3) การเรียนรู้ การจัดการความรู้ 4) การเสริมอำนาจบุคลากรและความเชี่ยวชาญ 5) นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6) ระบบการสื่อสาร และการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ 7) การมีส่วนร่วมในนวัตกรรมสูง 8) การแก้ปัญหาเชิงระบบ และการทดลองนวัตกรรมใหม่  9) ภาวะผู้นำและการตัดสินใจ 10) การทำงานเป็นทีมอย่างมีประสิทธิภาพ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

รายการอ้างอิง
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2549). กลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองค์การ. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท.
นรวัฒน์ ชุติวงศ์. (2554). “การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์การแห่งนวัตกรรมในประเทศไทย,”
วารสารบริหารธุรกิจ. 34, 130, เมษายน-มิถุนายน 2554.
Argyris, C., & Schon, D. (1978). Organizational learning: A theory of action perspective.
Reading, Mass: Addison Wesley.

Bennett, J. K., and O, Brien, M. J. (1994). “The Building Blocks of the Learning Organization.”
Training. 3 June 1994, 41-49.
Garvin, D.A. (1993). “Building a Learning Organization.” Harvard Business Review, 71(4),
Goh S. C. (1998). “Toward a learning organization: the strategic building blocks.”
SAM-Advanced Management Journal, 63, 15–22
Higgins, J. M. (1995). Innovate or evaporate : Test & improve Your Organizations IQ-its
innovation Quotient. New York : New Management.
Lawson, S. (2003). Examining the relationship between organizational culture and
knowledge management. Doctoral dissertation, Nova Southeastern University.
Marquardt, M. J. (1996). Building the learning organization: A system Approach to
Quantum improvement and global success. New York: McGraw Hill.
. J. (2002). Building the learning organization: Mastering the 5 Elements for
Corporate Learning. New York: McGraw Hill.
Pedler, M., Burgoyne, J. and Boydell, T. (1991). The Learning Company. A Strategy for
Sustainable Development. Mc Graw-Hill, London.
Senge, P.M. (1990). The Fifth Disclipline: The Art and Practice of the Learning
Organization. New York : Doubleday.
Vrakking, W.J. (1990). “The Innovative Organization,” Long Range Planning 23, 2 (April 1990)
95-102.
Joe Tidd John Bessant and Keith Pavitt., (2001). Managing Innovation Integrating
Technological and Organization Change. Chichester : John Wiley and Sons.