GUIDELINES OF CURRICULUM ADMINISTRATION IN SMALL-SIZED SCHOOL IN DIGITAL ERA UNDER ANGTHONG PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE

Main Article Content

Piyawan Prayadsup
Achara Niyamabha

Abstract

This research article aims to: 1) Study the current situation, desired situation, and necessary requirements for curriculum management in small schools in the digital era under the jurisdiction of the Angthong Primary Educational Service Area Office. 2) Study the guidelines for curriculum management in small schools in the digital era under the jurisdiction of the Angthong Primary Educational Service Area Office. This is a qualitative research conducted in two steps. Step 1: Study of the Current Situation, Desired Situation, and Necessary Requirements for Curriculum Management. Step 2: Study of the Guidelines for Curriculum Management in Small Schools in the Digital Era. The research findings revealed that: 1) The current situation, desired situation, and necessary requirements indicated the following: Current Situation: The approval of curriculum usage had the highest average, while the supervision of curriculum quality had the lowest average. Desired Situation: The determination of curriculum resources had the highest average, while the approval of curriculum usage had the lowest average. Necessary Requirements: The top three necessary requirements for curriculum management in small schools in the digital era were: (1) Supervision of curriculum quality (2) Determination of curriculum resources (3) Establishment of the curriculum management committee. 2) The guidelines for curriculum management in small schools in the digital era according to the top three necessary requirements are as follows: (1) Supervision of Curriculum Quality: This includes developing a supervision plan, monitoring curriculum usage, operational processes, quality assurance systems for curriculum usage, professional learning communities (PLC), and conducting research. (2) Determination of Curriculum Resources: This includes preparing personnel, managing knowledge, preparing learning resources, preparing materials and equipment, and preparing budgets. (3) Establishment of the Curriculum Management Committee: This includes defining the objectives and structure of the committee, appointing committee members, enhancing the committee's capabilities, organizing meetings and operations, and monitoring and evaluating performance.

Article Details

How to Cite
Prayadsup, . P. . ., & Niyamabha, A. (2024). GUIDELINES OF CURRICULUM ADMINISTRATION IN SMALL-SIZED SCHOOL IN DIGITAL ERA UNDER ANGTHONG PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE. Journal of Educational Review Faculty of Education in MCU, 11(3), 300–315. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EDMCU/article/view/270805
Section
Research Article

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กองบริหารงานวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา. (2560). พิมพ์เขียน Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ความมั่งคั่ง มั่นคง และยั่งยืน. แหล่งที่มา https://shorturl.asia/GLyiI สืบค้นเมื่อ 12 มี.ค. 2567.

กัญภร เอี่ยมพญา. (2565). โรงเรียนขนาดเล็ก: ปัญหาที่ต้องตัดสินใจ. วารสารสิรินธรปริทรรศน์. 23(1). 315-329.

เจนจิรา แสงปัญญา. (2566). การบริหารงานด้านงบประมาณโรงเรียนขนาดเล็ก ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 3(2). 1-18.

ปุณณิฐฐา มาเชค. (2565). การบริหารองค์กรทางการศึกษาในยุคดิจิทัล. ชลบุรี: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

รัชนก ไทยรักษ์. (2565). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย. 7(1). 52-67.

ศรัณย์ภัทร์ ไตรสุวรรณ. (2558). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา จังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

ศิริเดช เทพศิริ. (2560). การพัฒนาตัวบ่งชี้ทัศนคติเชิงบวกต่อการนิเทศของครู. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง. (2565). ข้อมูลอัตรากำลังข้าราชการครู ปีการศึกษา 2565. อ่างทอง: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2566). แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) ของสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แหล่งที่มา https://shorturl.asia/lRAsI สืบค้นเมื่อ 12 มี.ค. 2567.

สำนักงานนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2566). สถิติข้อมูลทางการศึกษา. แหล่งที่มา https://shorturl.asia/TLr58 สืบค้นเมื่อ 6 เม.ย. 2567.

สำนักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมชุนสหกรณ์การเกษตร.

สุดารัตน์ อมรชาติ. (2564). การประเมินหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของโรงเรียนบ้านหินดาน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวักสุราษฎร์ธานี โดยใช้รูปแบบซิปเปี้ยสท์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

อวัศยา แสงทอง. (2564). การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนวัดจันทราวาส (ศุขประสารราษฎร์). วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Krejcie, R. V. & Morgan. D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement. 30(3). 607-610.