A STUDY OF SCHOOL ADMINISTRATION CONDITIONS IN THE 21ST CENTURY OF SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research was to study of school administration conditions in the 21st century of school administrators under primary educational service area office. This is quantitative method research uses the questionnaire with a sample of 378 people. Data was analysis of statistical percentage, mean, standard deviation. The results of the research found that the condition in the 21st century of school administrators under primary educational service area office, all 4 aspects overall were at a high level, in each aspect from highest to lowest averages are: budget administration and personnel administration at the highest level, general administration and academic administration at a high level.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้นเพียงผู้เดียว และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกบทความลงตีพิมพ์และจะแจ้งให้เจ้าของบทความทราบหลังจากผู้ประเมินบทความตรวจอ่านบทความแล้ว
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
References
นูซี มะเด็ง. (2564). รูปแบบการบริหารสถานศึกษาแห่งความสุขโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 39 จังหวัดนราธิวาส. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต. 17(2). 95-112.
ผ่องศรี วาณิชย์ศุภวงศ์. (2546). เอกสารคำสอนระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. ปัตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
วิจารณ์ พานิช. (2558). แนวโน้มการบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. สงขลา: คณะศึกษาศาสตร์และศิลปะศาสตร์.
ศิรินารถ นันทวัฒนภิรมย์. (2547). การบริหารงานสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักธรรมอำเภอเมืองลำพูน. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สมหมาย อ่ำดอนกลอย. (2556). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 7 (1). 1-7.
สำนักงาน ก.พ. (2562). กำลังคนภาครัฐในศตวรรษที่ 21 (Workforce in The 21st Century). วารสารข้าราชการ. 62(2). 2.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2563). การกำหนดกลุ่มพื้นที่การศึกษา ประจำเขตตรวจราชการ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แหล่งที่มา https://www.obec.go.th/เว็บไซต์-สพป-ในสังกัด สืบค้นเมื่อ 18 พ.ย. 2563.
สุทธิศักดิ์ นันทวิทย์ และคณะ. (2558). รูปแบบการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ 21 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. 6(1). 214-226.
อภิชัย จันทะเสนงานวิจัย. (2564). รายงาน: นักวิจัย สกว. ชี้ปัญหาการบริหารการศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญที่ฉุดรั้งการปฏิรูปการศึกษา. แหล่งที่มา http://www.knowledgefarm.in.th/educational-administration-problem. สืบค้นเมื่อ 20 พ.ค. 2564.
Likert, Rensis. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. New York: Wiley & Son.